ในเปรตวิสัยมีมาก แต่พึงเสวยสุขนิดหน่อยในบางเวลา เพราะฉะนั้น จึงตรัส
อย่างนี้. พึงทราบการเปรียบเทียบข้ออุปมาโดยนัยก่อนในที่นี้นั่นเทียว.
พึงทราบอธิบายในอุปมาข้อที่ ๔ บทว่า พหลปตฺตปลาโส ได้แก่
มีใบเนืองนิจ คือ ปกปิดด้วยใบ. บทว่า สณฺฑจฺฉาโย ความว่า มีเงาหนา
ดุจร่มหีน. บทว่า สุขพหุลา เวทนา ความว่า เวทนาในตระกูลทั้ง
หลายมีขัตติยตระกูลเป็นต้นในมนุษยโลกเป็นอันพึงทราบว่า เวทนามากด้วย
ความสุข ทรงแสดงว่า เราเห็นบุคคลนอนหรือนั่งเสวยเวทนานั้น. พึงทราบ
ข้อเปรียบเทียบอุปมาแม้นี้โดยนัยก่อนนั้นเทียว.
พึงทราบอธิบายในอุปมาข้อที่ ๕ บทว่า ปาสาโท ได้แก่ ปราสาทยาว.
บทว่า อุลฺลิตฺตาวลิตฺตํ ความว่า ฉาบทาข้างในและฉาบทาข้างนอก. บทว่า
ผุสิตคฺคฬํ ได้แก่บานประตูหน้าต่าง ปิดสนิทดีพร้อมกับรอบวงกบ. บทว่า
โคนกตฺถโต ความว่า ลาดด้วยผ้าโกเชาว์สีดำ ขนยาวเกินกว่าสี่นิ้ว. บทว่า
ปฏิกตฺถโต ได้แก่ลาดด้วยเครื่องลาดสีขาวอันสำเร็จแต่ขน. บทว่า ปฏลิ-
กตฺถโต คือ ลาดด้วยเครื่องลาดอันสำเร็จด้วยขนมีพื้นหนา. บทว่า กทฺทลิมิค-
ปวรปจฺจตฺถรโณ ความว่า ลาดด้วยเครื่องปูลาดชั้นสูง อันสำเร็จด้วยหนัง
ชะมด. ได้ยินว่า ชนทั้งหลายลาดหนังอาทิผิด สระ ชะมด เบื้องบนผ้าขาวแล้วเย็บทำเครื่อง
ปูลาดนั้น. บทว่า สอุตฺตรจฺฉโท ความว่า มีเพดานกั้นในเบื้องบน คือมี
เพดานสีแดงกั้นไว้เบื้องบน. บทว่า อุภโต โลหิตกูปธาโน ได้แก่ มีหมอน
แดงวาง ณ ข้างทั้งสองของบัลลังก์ คือ หมอนหนุนศีรษะ และหมอนวางเท้า.
พึงทราบการเปรียบเทียบข้ออุปมา โดยนัยก่อนแม้ในที่นี้.
ก็โยชนาส่วนอื่นในบทนี้มีดังนี้. บุรุษนั้นย่อมรู้บุคคลที่ขึ้นสู่ทางนั้น
เทียวว่า บุคคลนี้ไปโดยทางนั้น ขึ้นสู่ปราสาทอาทิผิด สระ เข้าไปยังกูฏาคาร จักนั่งหรือ
จักนอนบนบัลลังก์ฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเห็นบุคคลผู้สั่งสมกุศลกรรม
อย่างนี้. พึงทราบการเปรียบเทียบข้ออุปมาโดยนัยก่อนในที่นี้นั่นเทียว.
พึงทราบอธิบายในอุปมาข้อที่ ๔ บทว่า พหลปตฺตปลาโส ได้แก่
มีใบเนืองนิจ คือ ปกปิดด้วยใบ. บทว่า สณฺฑจฺฉาโย ความว่า มีเงาหนา
ดุจร่มหีน. บทว่า สุขพหุลา เวทนา ความว่า เวทนาในตระกูลทั้ง
หลายมีขัตติยตระกูลเป็นต้นในมนุษยโลกเป็นอันพึงทราบว่า เวทนามากด้วย
ความสุข ทรงแสดงว่า เราเห็นบุคคลนอนหรือนั่งเสวยเวทนานั้น. พึงทราบ
ข้อเปรียบเทียบอุปมาแม้นี้โดยนัยก่อนนั้นเทียว.
พึงทราบอธิบายในอุปมาข้อที่ ๕ บทว่า ปาสาโท ได้แก่ ปราสาทยาว.
บทว่า อุลฺลิตฺตาวลิตฺตํ ความว่า ฉาบทาข้างในและฉาบทาข้างนอก. บทว่า
ผุสิตคฺคฬํ ได้แก่บานประตูหน้าต่าง ปิดสนิทดีพร้อมกับรอบวงกบ. บทว่า
โคนกตฺถโต ความว่า ลาดด้วยผ้าโกเชาว์สีดำ ขนยาวเกินกว่าสี่นิ้ว. บทว่า
ปฏิกตฺถโต ได้แก่ลาดด้วยเครื่องลาดสีขาวอันสำเร็จแต่ขน. บทว่า ปฏลิ-
กตฺถโต คือ ลาดด้วยเครื่องลาดอันสำเร็จด้วยขนมีพื้นหนา. บทว่า กทฺทลิมิค-
ปวรปจฺจตฺถรโณ ความว่า ลาดด้วยเครื่องปูลาดชั้นสูง อันสำเร็จด้วยหนัง
ชะมด. ได้ยินว่า ชนทั้งหลายลาด
ปูลาดนั้น. บทว่า สอุตฺตรจฺฉโท ความว่า มีเพดานกั้นในเบื้องบน คือมี
เพดานสีแดงกั้นไว้เบื้องบน. บทว่า อุภโต โลหิตกูปธาโน ได้แก่ มีหมอน
แดงวาง ณ ข้างทั้งสองของบัลลังก์ คือ หมอนหนุนศีรษะ และหมอนวางเท้า.
พึงทราบการเปรียบเทียบข้ออุปมา โดยนัยก่อนแม้ในที่นี้.
ก็โยชนาส่วนอื่นในบทนี้มีดังนี้. บุรุษนั้นย่อมรู้บุคคลที่ขึ้นสู่ทางนั้น
เทียวว่า บุคคลนี้ไปโดยทางนั้น ขึ้นสู่
จักนอนบนบัลลังก์ฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเห็นบุคคลผู้สั่งสมกุศลกรรม
๑๘/๑๙๓/๙๑
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น