____________________ _____
⌨️🖱️🧑💻…💻🪪✍️“อ่านแล้ว รู้สึกยุ่งยากใจ แต่ถ้าตั้งวิเคราะห์แล้ว ก็คงพึงจะต้องมี คงพึงจะต้องได้ทางออก , เพราะตอนท้ายที่สุด วัตรพรต ก็ย่อมไปวัดกันที่ ตั้งจิตว่า ‘เราจะยอมตาย!เพื่อพระศาสดา มิใช่เราจะยอมทำ หรือยอมตาย ไปเพื่อคำตำหนิติเตียนของชาวบ้าน’, เพราะที่กล้าบวช เพราะกล้า!บวช อุทิศ!พระศาสดา มิใช่กล้าบวช เพื่อจะอุทิศตนทำตามคำกล่าว และความปรารถนาของชาวบ้าน, ว่า พระได้เสียส่วนแบ่ง ในสิทธิ์ และทรัพยากรทั้งปวงไว้ให้แล้ว พวกมันก็มิได้ค่อยจะรู้สำนึก ว่า บวช ก็บวช เพื่อที่จะทำตามสบาย ในการ ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ พูด และคิด ด้วยอาการอันดี, แล หากเมื่อใด พระศาสดา ไม่แจ้งทางนิมิตแล้ว ก็จะมิประพฤติอะไร ที่หย่อน หรือที่ยิ่งกว่านี้ นั้น, และการมีความซื่อตรงต่อพระศาสดาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นั่นเอง อย่างแน่แล้ว, สำหรับ เรื่อง ในการที่ ชาวบ้าน ประชาชน คฤหบดี กษัตริย์ พราหมณ์ และกระทั่งโจร ทุกหมู่ ทุกพวก ย่อมได้ สิทธิ์ เสรีภาพ อยู่เหนือทรัพยากรทั้งปวงประดาเหล่านั้น แล้ว โดยที่เรา นักบวช! มิไปเกี่ยวข้องรบกวนในเรื่อง ของการ สละ! การให้! การน้อมประพฤติ และทุ่มเทจิตใจ (แม้แต่แค่เฉพาะจิตใจ) เพื่อศาสนธรรมอันดี, เมื่อไม่พูดถึง ระดับที่เรียกว่า มีความกตัญญูต่อธรรมชาติ ก็จะมิอาจมีความเข้าใจต่อเรื่องนักบวช โดยถูกต้องได้, ว่าการที่ไม่เบียดแย้ง แข่งขัน ในการช่วงชิงกอบโกยทรัพยากร นั้น เกิดจากการอุทิศ กระทำ ตาม ลัทธิธรรม อะไร?, แล้วนี้ วัตรพรต ทางศาสนาพุทธเรานี่แหละ ทุกท่านเอ๋ย ที่ชูธง เรื่อง การที่ไม่เบียดแย้ง แข่งขัน ในการช่วงชิงกอบโกยทรัพยากร นั้น อยู่อย่างสันติธรรม, ดังนั้น ฉะนั้น ด้วยการอ้างความเข้าใจที่ต่ำอยู่ ฉะนั้น ก็คุยยาก, เพราะคว้าไว้ไม่ได้ แลมีแต่จะต้องปัดตก! คือเอาไว้ไม่ได้, เพราะความเฉียดไปใกล้ต่ออุดมคติอันดี ฉะนั้น ยังห่างกันอยู่, แล้ว จะให้เวลา หมดไป ในการชิงไหวชิงเปรียบ แต่แค่เรื่องโวหารเท่านั้น ย่อมเสียเวลา เปล่า ๆ, เพราะ การงาน โดยความสรุป นั้นมีอยู่แล้ว ที่ประกาศได้ว่า เป็นสิ่ง ค้ำจุน! ศาสนธรรม ให้ดำเนินไปอย่างยิ่ง และเจริญตลอดไป, เช่นโลกอยู่คู่ธรรม เช่นธรรมอยู่คู่โลก, อันว่าสัมมาอาชีพ ที่เป็นสิ่งค้ำจุนศาสนาอย่างแท้ ก็คืองานดังต่อไปนี้๑. พ่อครัว แม่ครัว๒. ช่างผ้า ช่างเย็บผ้า๓. ช่างไม้ ช่างก่อสร้าง๔. แพทย์ และเภสัชกรแลเมื่อคิดพิจารณาไปโดยตลอด ด้วย อาการ เช่นว่า, พ่อครัวแม่ครัว ทำอาหารไว้ให้ แล้วก็จากไป!, และด้วยอาการ เช่นว่า ช่างผ้าช่างเย็บผ้า ได้ทำเสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่มไว้ให้แล้ว ก็จากไป!, และด้วยอาการเช่นว่า ช่างไม้ช่างก่อสร้าง ได้ทำที่นั่งที่นอน เรือน (กุฏิ) ที่อยู่อาศัยไว้ให้แล้วก็จากไป, และด้วยอาการเช่นว่า แพทย์และเภสัชกร ได้ทำยารักษาโรค ยาบำรุง และปรุงยาปนมัตถ์ไว้ให้แล้ว ก็จากไป!, ดังนั้น ‘พระนักบวชมีเรื่องอะไรเล่า?’, จะมีเรื่องอะไร จะทำอะไรก็ได้ทั้งนั้นแหละ ถ้าตอบได้ว่า จะกระทำอุทิศพระศาสดา จะกระทำเพื่อทุเลาเบาบางจากโทษ จะกระทำเพื่อความไม่กระทบกระเทือน, แล้วนั้น ด้วยอาการ ดังกล่าว นักบวชได้ทำแต่ความไม่กระทบกระเทือนสิ่งไร ๆ แล้วนั้น แล้วก็จากไป!, จึงเป็นเรื่อง ความเข้าใจ เป็นเรื่องคิดดี เมื่อครั้งคิดดีแล้วย่อมกระทำไปอย่างนี้, ลงความโดยย่อ โวหารผิดถูก จะมาใช้ไม่ได้ แลเรื่องสูงต่ำ ฉะนั้น ก็จะมาใช้ไม่ได้, เพราะ การสอบสวนฉะนั้น ชะตาลิขิต แต่ว่า พระตถาคตลิขิตอยู่ และพระธรรมจักรมีอาการคือเป็นไปแล้ว, ถ้าว่า ผู้ใด ท่านใด ค้นคว้าอยู่ อย่างซื่อตรงต่อกระบวนความ ที่จะกระทำเพื่อศาสนธรรม และพระนิพพานวิเศษ, ก็ย่อมแต่จะประกาศเหตุผลประดาต่าง ๆ ออกมาได้อยู่ตามธรรมดา, ว่าได้พยายามกระทำความไม่กระทบกระเทือน ว่าได้พยายามกระทำความไม่เกี่ยวข้องแล้ว ด้วยประการใดบ้าง, ในอันที่จะกระทำชื่อให้เป็นจริง ในอันที่จะกระทำปฏิญาณให้เป็นจริง”
⌨️🖱️🧑💻…💻🪪✍️“อาตมาคิดว่า ถ้าเพื่อน กล่าวต่อเพื่อน หรือเตือนเพื่อน แล้วสำคัญ, ซึ่ง หมายความ ว่า เพื่อนที่สามารถเล่น หรือสามารถแล่นขนาน ไปกับเรา ได้, เพราะ เรื่อง พอแต่แค่ การฝึกหัด ฝึกฝน เรื่อง มันย่อมมีทิศทางของมันอยู่, ซึ่ง อาตมา พิจารณา ว่า ข้อ ๑ มีการฝึกฝนฝึกหัด และบำเพ็ญอัตรา ทางใจ ไป ในแบบจำลอง หรือผัง ตามภาพคิดที่ใหญ่กว่า หรือใหญ่กว่าไปเรื่อยๆ, และว่า ข้อ ๒ ได้มี การฝึกฝนฝึกหัด และบำเพ็ญอัตรา ทางใจ ไป ในแบบจำลอง หรือผัง ตามภาพคิดที่เล็กกว่า หรือเล็กกว่าลงไปเรื่อยๆ, ซึ่งความข้อนี้เอง อาจจะ ว่า ตาม ข้อ ๒ หรือข้อ ๑ที่ซึ่ง ให้สังเกตอย่างหนึ่งว่า ตามปรากฏการณ์ ที่มีมาโดยตลอด และที่มีบันทึก ในพระคัมภีร์ นั่นเอง, ด้วยว่า อาบัติเล็กน้อย อาบัติทำคืนได้ แต่กลับมีคำอธิบาย มีอรรถาธิบายประโยชน์ นั้น แบบ เอาเป็นเอาตาย อย่างจะเอาโทษ อย่างอาบัติใหญ่ หรืออาบัติปาราชิก เป็นต้น, เช่นนั้น แหละ อาตมา เห็นว่า นั้น เป็นคน สร้างทฤษฎี หรือ ทำแบบฝึกหัด ตามแบบจำลองการฝึกแบบ ข้อ ๒, เช่นว่า ยกโทษ เรื่อง อาบัติรับเงินทอง ว่าเป็นดั่งปาราชิกไปเลย ดั่งนี้เป็นต้น, คือ แค่อาบัติ เล็กน้อย แต่กลับ เอาโทษหนัก มาเป็นเป้า เป็นเกณฑ์ ก็ได้, พอความ ข้อ นี้ ก็พึงคง เป็นเค้า มาแต่ พุทโธบาย หรือกุศโลบาย, ตามอย่างพระพุทธเจ้า นั่นเองซึ่ง พระพุทธเจ้า สร้างตัวอย่าง ไว้แก่ภิกษุ ประดา ต่าง ๆ ไว้ว่า, หากจะ ตั้ง หากจะสร้าง (แบบจำลองการฝึก) หากจะกำหนด หากจะบัญญัติ ปาราชิก ข้อ ที่ ๕ เล่า, จะบัญญัติอะไร?, ซึ่ง ในข้อนี้เห็นว่า ย่อมแต่อาจเป็นการสร้างกุศโลบาย ที่จะยกเอาเรื่องเล็ก! เป็นเรื่องใหญ่, เพราะผู้ฝึก เป็นผู้มีทิศทาง หรือนิสัย ที่เป็นไป ใน การฝึกฝนฝึกหัด และบำเพ็ญอัตรา ทางใจ ไป ในแบบจำลอง หรือผัง ตามภาพคิดที่เล็กกว่า หรือเล็กกว่าลงไปเรื่อยๆ, คือ เขาเป็น เซนติเมตร เป็น มิลลิ เป็น ไมโคร เป็นนาโนเมตร เล็กลง ไปเรื่อยๆ, คำเรียก หรือ สมมติ บทตั้ง ของแบบจำลองนั่นเอง จึงปรากฏว่า ดังกะยกวัตร เป็นศีล ดั่งกะยกอาบัติเล็ก เป็นอาบัติใหญ่ฉะนั้น อธิศีล อธิจิต อธิปัญญา ที่อาจจะใช้คำเปรียบ ไป แบบนี้ ก็ควรอาจน่าจะมี ได้, คือ ผู้ที่ ยกเรื่องเล็ก เป็นเรื่องใหญ่ นัยเพราะ อำนาจแห่งการฝึกหัดดี แล้ว ของตน, หรือบ้างก็มีที่ยกเรื่องใหญ่เป็นเรื่องเล็ก ซึ่งก็เหมือนกัน อันนัยเพราะ อำนาจแห่งการฝึกหัดดี แล้ว ของตน, เช่นเรื่อง พระศาสดาบัญญัติปาราชิก ข้อที่ ๕ เป็นต้น (จริงๆ แค่อาบัติเล็กน้อย), และเช่นเรื่อง พระศาสดาแสดงฤทธิ์เองได้ เป็นต้น (ซึ่งจริงๆ อาจแต่เพียงเทศนา ก็พึงคงจะเพียงพอแล้ว) ด้วยเพราะโปรดเป็นพิเศษ, แล้ว ครั้ง เมื่อ ยกความ มาที่ ข้อ ที่มี การฝึกฝนฝึกหัด และบำเพ็ญอัตรา ทางใจ ไป ในแบบจำลอง หรือผัง ตามภาพคิดที่ใหญ่กว่า หรือใหญ่กว่าไปเรื่อยๆ ก็อย่างเช่น, เป็น ระดับหมู่บ้าน แล้วระดับตำบล แล้วระดับอำเภอ แล้วระดับจังหวัดล่ะ แล้วระดับประเทศล่ะ แล้วระดับโลกล่ะ จะทำอย่างไร?ฉะนั้น เมื่อมีผัง หรือแบบจำลองการฝึก ที่หาเรื่องใหญ่ไปเรื่อยๆ หรือหาคิดหาทำ แต่เรื่องที่ใหญ่กว่าไปเรื่อยๆ, แล้ว เรื่อง ก็จึงเกิดประมาณในพระพุทธเจ้าพระองค์อื่นขึ้นมา, คือ สุดท้ายแล้ว ก็คิดเพียงแต่ว่า พระโคตมะ เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์น้อย พระองค์เล็ก ตน! มิเลื่อมใสเพียงไรนัก, คิดโน้มน้อม ไปในพระไวโรจนะ หรือพระเมตตรัย ดูท่า จะยังคงดีเสียกว่า, ถึงผู้ที่ฝึกในภาพใหญ่ ไปเรื่อย นั้น คงแต่ จะสร้างบ้าน สร้างรถ สร้างเจดีย์ เป็นรูปขนมเค้ก นั่นแหละ แล้วก็นำมาฉัน”
⌨️🖱️🧑💻…sattakayo ca akaso cakkavala canantaka buddhananam appameyyam na sakka ete vijanitum…💻🪪✍️
⌨️🖱️🧑💻…💻🪪✍️“การประพฤติถูก การประพฤติชอบ ในกามคุณ, เมื่อเปรียบเทียบ และหากให้พิจารณา ว่า เป็นอย่างไร? ในเรื่องเหล่านี้, หากย้อนไปในต้นทาง ก็ย่อมมีประวัติให้ศึกษา อยู่ ย้อนไปไม่ไกลนัก, แลก็พึง ได้หน้าที่ ที่ต้องศึกษา ไปตามความจำเป็น แค่เรื่อง ปู่กับย่า เท่านั้น เพราะ ย้อนไปกว่านั้น มีปกติ ไม่ได้พบได้เห็น และไม่เคยได้รู้จัก เรื่องทวด เลยแต่ประการไร ในส่วนเรื่อง ของตากับยาย ก็พอกันกับเรื่อง ปู่ย่า เพราะตากับยาย ก็ไม่ได้แสดงเรื่องทวดให้ปรากฏ ว่าจะพึงต้องศึกษา ว่าพึงต้องรู้ ไปโดยสำคัญอย่างไร?, ฉะนั้น จึงอาจเห็นว่า มิใช่หน้าที่ ที่เป็นไปตามความจำเป็น ที่จะต้องศึกษา เข้าใจ หรือสำคัญไปในการศึกษาค้นคว้า แบบสืบประวัติไปไกล ๆ หรือล่วงหน้าไปกว่านี้มาก ๆ โดยที่พึงถือเป็นกิจสำคัญดังนี้ ตาม ห้องเวลา ๙ อย่าง ที่พึงตระหนัก อันที่ได้เสนอไว้แล้วนั้น อันได้แก่เวลานานจนนับไม่ได้ ๑เวลา ๑ ร้อยปี ๑เวลา ปี ๑เวลา เดือน ๑เวลา วัน ๑เวลา ชั่วโมง ๑เวลา นาที ๑เวลา วินาที ๑และเวลา ที่เร็ว จนนับไม่ได้ ๑เช่นนี้ อาตมา ย่อม หมายถึง การตรา แลแสดง อัตราลักษณ์ อย่างสามัญ, ที่ไป ที่เป็นอยู่ ในสติ อย่างโสตประสาทธรรมดา อย่างที่เรียกว่า จิตเล็กน้อย ไม่มีประมาณ หรือที่เรียกว่า ขณิกภาวนา ตามสติปัญญาพละกำลัง ของกายใจที่มีปกติรู้สัมปชัญญะ แล้วมีการกำหนดความรู้ทั่วตัวพร้อม ได้อยู่ฉะนั้น เรื่อง จึง ไป ๆ มา ๆ ในอรรถประโยชน์ ตามอรรถาธิบาย อย่างนี้ ไปทั้งหมดเท่านั้น, เช่น ยกว่า วันมี ๓ วัน คือ วันก่อน, วันนี้ และวันพรุ่งนี้ และวันอื่น ๆ นอกจากนี้, แลเมื่อมาถึงการพิจารณา ตาม อัตราลักษณ์สามัญ ตามประเภท ทั้ง ๙ ฉะนั้น ก็เหมือนกัน, เช่นว่า ๑ ร้อยปีก่อน, ๑ ร้อย ปี ปัจจุบัน, ๑ ร้อยปีอนาคต, และ ๑ ร้อยปีอื่น ๆ นอกไปกว่า จากนี้, แล ก็จงให้เข้าใจว่า ชวนจิต หรือ ขณะจิตที่รวดเร็ว ก็อย่างนี้ คือการพ้นไปได้ หรือพ้นไปไม่ได้นั่นเอง, จวบกระทั่งเวลานานก็ย่อมเหมือนกัน ก็เรียกว่า ขณะ! เหมือนกัน, แลย่อมจัดว่า นานอันอดีตนั้น, นานอันปัจจุบันนี้, แลนานอันอนาคตที่นับไม่ได้, และความพ้นได้ ด้วย อันนาน อื่น ๆ กว่า ที่ นาน! โดย ๓ อย่างนั้น, ดังนั้นแล้ว จึงรวม ๙ เมื่อ ทวีคูณ ๓ แล้ว ตามอัตราลักษณ์ ๓ อย่าง ที่เปรียบเทียบ ดั่ง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ได้ตรึงไว้ ๙ คูณลักษณ์ ๓ อย่าง เป็น ๒๗ อย่าง, แล้วเมื่อ จะเรียน หรือ จะสถิตสถาปนา อย่าง นักษัตร ๒๘ อย่าง ก็จงย่นย่อ หรือขยายความเอา ไปตาม วิธี ๗ อย่าง คือ ย่อมได้แทรก นักษัตร ชื่อ อภิชิต นั่น นั้นเข้ามาอีก นักษัตร ๑และเรื่อง ชื่อ อภิชิต เช่นนี้แล อาตมา จำพึงต้อง ระลึก ไปถึงเรื่อง คน หรือ สัตว์ หรือซึ่งการแทรกแซง อะไร ที่ดั่งกะมีอภิสิทธิ์ เข้ามาแทรกแทรงได้ คือ ทำลายความสงบความผาสุก ที่อาจจะยังไม่มั่นคง ของเราได้, เช่นเรื่อง สัตว์อภิสิทธิ์ ที่ชัดเจน ที่สามารถ ก่อความรบกวนรำคาญ สำหรับอาตมา ก็พบแต่ การแก้จิต รำคาญ นกพิราบ! ยุง! มด! โดยมากประจำทุกวัน, เรื่อง อาจมาให้รบกวน และรำคาญ ได้ โดยไม่มีเวลาอย่างไรเลย, ซึ่ง ข้อนี้ ก็อาจจะพยากรณ์ และสรุปสารูปว่า หากอยู่ไปอย่างนี้ ก็ต้องประสบสภาวะนี้ ไปตลอดไป ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต และเวลาอื่น ๆ กว่านี้, แลยกมาที่ ประเด็นงานศาสนา หลังจากที่แจ้งแล้วว่า ในชั่วโมงที่แล้ว ชั่วโมงนี้ และชั่วโมงหน้า หรือเวลาอื่น ในสถานที่เดียวกัน หรือปัจจัยมูลฐานเดียวกัน ก็ย่อมประสบสัตว์รบกวน ไปอย่างนี้ นั้น แน่นอนแล้ว เมื่อ ยกมาประเด็นทางศาสนา ก็จงพึงควร ยกว่า และรู้ว่า กำลังยก และกล่าวว่าไปถึง นับตรงที่เป็นวัตถุเรื่อง หรือ ห้วงเวลานั้น ๆ คือ ประมาณ ที่ ๑ ร้อยปี ๓ อย่าง นั้น (ปฏิทินภาวนา ๑ ร้อยปีแบบพิสดารอาตมาได้ทำไว้แล้ว), และนานกระทั่ง นับไม่ได้ ๓ อย่าง นั้น, ก็จงรู้ และเข้าใจไปอย่างนี้ก่อนเถิด ส่วน การว่าเรื่องปักษ์ ก็จงพึงว่า ปักษ์ก่อน ปักษ์นี้ และปักษ์หน้า ซึ่งว่า อย่างพิสดาร ก็จงว่าลง ส่วนเสี้ยวที่ ๑๖ ฉะนั้น ณ จุดที่ ไม่มีปรากฏ ว่าเรื่องพึงเป็นอย่างไรให้นับ”
แสดงความคิดเห็น
4 ความคิดเห็น:
⌨️🖱️🧑💻…💻🪪✍️
“อ่านแล้ว รู้สึกยุ่งยากใจ แต่ถ้าตั้งวิเคราะห์แล้ว ก็คงพึงจะต้องมี คงพึงจะต้องได้ทางออก , เพราะตอนท้ายที่สุด วัตรพรต ก็ย่อมไปวัดกันที่ ตั้งจิตว่า ‘เราจะยอมตาย!เพื่อพระศาสดา มิใช่เราจะยอมทำ หรือยอมตาย ไปเพื่อคำตำหนิติเตียนของชาวบ้าน’, เพราะที่กล้าบวช เพราะกล้า!บวช อุทิศ!พระศาสดา มิใช่กล้าบวช เพื่อจะอุทิศตนทำตามคำกล่าว และความปรารถนาของชาวบ้าน, ว่า พระได้เสียส่วนแบ่ง ในสิทธิ์ และทรัพยากรทั้งปวงไว้ให้แล้ว พวกมันก็มิได้ค่อยจะรู้สำนึก ว่า บวช ก็บวช เพื่อที่จะทำตามสบาย ในการ ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ พูด และคิด ด้วยอาการอันดี, แล หากเมื่อใด พระศาสดา ไม่แจ้งทางนิมิตแล้ว ก็จะมิประพฤติอะไร ที่หย่อน หรือที่ยิ่งกว่านี้ นั้น, และการมีความซื่อตรงต่อพระศาสดาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นั่นเอง อย่างแน่แล้ว, สำหรับ เรื่อง ในการที่ ชาวบ้าน ประชาชน คฤหบดี กษัตริย์ พราหมณ์ และกระทั่งโจร ทุกหมู่ ทุกพวก ย่อมได้ สิทธิ์ เสรีภาพ อยู่เหนือทรัพยากรทั้งปวงประดาเหล่านั้น แล้ว โดยที่เรา นักบวช! มิไปเกี่ยวข้องรบกวน
ในเรื่อง ของการ สละ! การให้! การน้อมประพฤติ และทุ่มเทจิตใจ (แม้แต่แค่เฉพาะจิตใจ) เพื่อศาสนธรรมอันดี, เมื่อไม่พูดถึง ระดับที่เรียกว่า มีความกตัญญูต่อธรรมชาติ ก็จะมิอาจมีความเข้าใจต่อเรื่องนักบวช โดยถูกต้องได้, ว่าการที่ไม่เบียดแย้ง แข่งขัน ในการช่วงชิงกอบโกยทรัพยากร นั้น เกิดจากการอุทิศ กระทำ ตาม ลัทธิธรรม อะไร?, แล้วนี้ วัตรพรต ทางศาสนาพุทธเรานี่แหละ ทุกท่านเอ๋ย ที่ชูธง เรื่อง การที่ไม่เบียดแย้ง แข่งขัน ในการช่วงชิงกอบโกยทรัพยากร นั้น อยู่อย่างสันติธรรม, ดังนั้น ฉะนั้น ด้วยการอ้างความเข้าใจที่ต่ำอยู่ ฉะนั้น ก็คุยยาก, เพราะคว้าไว้ไม่ได้ แลมีแต่จะต้องปัดตก! คือเอาไว้ไม่ได้, เพราะความเฉียดไปใกล้ต่ออุดมคติอันดี ฉะนั้น ยังห่างกันอยู่, แล้ว จะให้เวลา หมดไป ในการชิงไหวชิงเปรียบ แต่แค่เรื่องโวหารเท่านั้น ย่อมเสียเวลา เปล่า ๆ, เพราะ การงาน โดยความสรุป นั้นมีอยู่แล้ว ที่ประกาศได้ว่า เป็นสิ่ง ค้ำจุน! ศาสนธรรม ให้ดำเนินไปอย่างยิ่ง และเจริญตลอดไป, เช่นโลกอยู่คู่ธรรม เช่นธรรมอยู่คู่โลก, อันว่าสัมมาอาชีพ ที่เป็นสิ่งค้ำจุนศาสนาอย่างแท้ ก็คืองานดังต่อไปนี้
๑. พ่อครัว แม่ครัว
๒. ช่างผ้า ช่างเย็บผ้า
๓. ช่างไม้ ช่างก่อสร้าง
๔. แพทย์ และเภสัชกร
แลเมื่อคิดพิจารณาไปโดยตลอด ด้วย อาการ เช่นว่า, พ่อครัวแม่ครัว ทำอาหารไว้ให้ แล้วก็จากไป!, และด้วยอาการ เช่นว่า ช่างผ้าช่างเย็บผ้า ได้ทำเสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่มไว้ให้แล้ว ก็จากไป!, และด้วยอาการเช่นว่า ช่างไม้ช่างก่อสร้าง ได้ทำที่นั่งที่นอน เรือน (กุฏิ) ที่อยู่อาศัยไว้ให้แล้วก็จากไป, และด้วยอาการเช่นว่า แพทย์และเภสัชกร ได้ทำยารักษาโรค ยาบำรุง และปรุงยาปนมัตถ์ไว้ให้แล้ว ก็จากไป!, ดังนั้น ‘พระนักบวชมีเรื่องอะไรเล่า?’, จะมีเรื่องอะไร จะทำอะไรก็ได้ทั้งนั้นแหละ ถ้าตอบได้ว่า จะกระทำอุทิศพระศาสดา จะกระทำเพื่อทุเลาเบาบางจากโทษ จะกระทำเพื่อความไม่กระทบกระเทือน, แล้วนั้น ด้วยอาการ ดังกล่าว นักบวชได้ทำแต่ความไม่กระทบกระเทือนสิ่งไร ๆ แล้วนั้น แล้วก็จากไป!, จึงเป็นเรื่อง ความเข้าใจ เป็นเรื่องคิดดี เมื่อครั้งคิดดีแล้วย่อมกระทำไปอย่างนี้, ลงความโดยย่อ โวหารผิดถูก จะมาใช้ไม่ได้ แลเรื่องสูงต่ำ ฉะนั้น ก็จะมาใช้ไม่ได้, เพราะ การสอบสวนฉะนั้น ชะตาลิขิต แต่ว่า พระตถาคตลิขิตอยู่ และพระธรรมจักรมีอาการคือเป็นไปแล้ว, ถ้าว่า ผู้ใด ท่านใด ค้นคว้าอยู่ อย่างซื่อตรงต่อกระบวนความ ที่จะกระทำเพื่อศาสนธรรม และพระนิพพานวิเศษ, ก็ย่อมแต่จะประกาศเหตุผลประดาต่าง ๆ ออกมาได้อยู่ตามธรรมดา, ว่าได้พยายามกระทำความไม่กระทบกระเทือน ว่าได้พยายามกระทำความไม่เกี่ยวข้องแล้ว ด้วยประการใดบ้าง, ในอันที่จะกระทำชื่อให้เป็นจริง ในอันที่จะกระทำปฏิญาณให้เป็นจริง”
⌨️🖱️🧑💻…💻🪪✍️
“อาตมาคิดว่า ถ้าเพื่อน กล่าวต่อเพื่อน หรือเตือนเพื่อน แล้วสำคัญ, ซึ่ง หมายความ ว่า เพื่อนที่สามารถเล่น หรือสามารถแล่นขนาน ไปกับเรา ได้, เพราะ เรื่อง พอแต่แค่ การฝึกหัด ฝึกฝน เรื่อง มันย่อมมีทิศทางของมันอยู่, ซึ่ง อาตมา พิจารณา ว่า ข้อ ๑ มีการฝึกฝนฝึกหัด และบำเพ็ญอัตรา ทางใจ ไป ในแบบจำลอง หรือผัง ตามภาพคิดที่ใหญ่กว่า หรือใหญ่กว่าไปเรื่อยๆ, และว่า ข้อ ๒ ได้มี การฝึกฝนฝึกหัด และบำเพ็ญอัตรา ทางใจ ไป ในแบบจำลอง หรือผัง ตามภาพคิดที่เล็กกว่า หรือเล็กกว่าลงไปเรื่อยๆ, ซึ่งความข้อนี้เอง อาจจะ ว่า ตาม ข้อ ๒ หรือข้อ ๑
ที่ซึ่ง ให้สังเกตอย่างหนึ่งว่า ตามปรากฏการณ์ ที่มีมาโดยตลอด และที่มีบันทึก ในพระคัมภีร์ นั่นเอง, ด้วยว่า อาบัติเล็กน้อย อาบัติทำคืนได้ แต่กลับมีคำอธิบาย มีอรรถาธิบายประโยชน์ นั้น แบบ เอาเป็นเอาตาย อย่างจะเอาโทษ อย่างอาบัติใหญ่ หรืออาบัติปาราชิก เป็นต้น, เช่นนั้น แหละ อาตมา เห็นว่า นั้น เป็นคน สร้างทฤษฎี หรือ ทำแบบฝึกหัด ตามแบบจำลองการฝึกแบบ ข้อ ๒, เช่นว่า ยกโทษ เรื่อง อาบัติรับเงินทอง ว่าเป็นดั่งปาราชิกไปเลย ดั่งนี้เป็นต้น, คือ แค่อาบัติ เล็กน้อย แต่กลับ เอาโทษหนัก มาเป็นเป้า เป็นเกณฑ์ ก็ได้, พอความ ข้อ นี้ ก็พึงคง เป็นเค้า มาแต่ พุทโธบาย หรือกุศโลบาย, ตามอย่างพระพุทธเจ้า นั่นเอง
ซึ่ง พระพุทธเจ้า สร้างตัวอย่าง ไว้แก่ภิกษุ ประดา ต่าง ๆ ไว้ว่า, หากจะ ตั้ง หากจะสร้าง (แบบจำลองการฝึก) หากจะกำหนด หากจะบัญญัติ ปาราชิก ข้อ ที่ ๕ เล่า, จะบัญญัติอะไร?, ซึ่ง ในข้อนี้เห็นว่า ย่อมแต่อาจเป็นการสร้างกุศโลบาย ที่จะยกเอาเรื่องเล็ก! เป็นเรื่องใหญ่, เพราะผู้ฝึก เป็นผู้มีทิศทาง หรือนิสัย ที่เป็นไป ใน การฝึกฝนฝึกหัด และบำเพ็ญอัตรา ทางใจ ไป ในแบบจำลอง หรือผัง ตามภาพคิดที่เล็กกว่า หรือเล็กกว่าลงไปเรื่อยๆ, คือ เขาเป็น เซนติเมตร เป็น มิลลิ เป็น ไมโคร เป็นนาโนเมตร เล็กลง ไปเรื่อยๆ, คำเรียก หรือ สมมติ บทตั้ง ของแบบจำลองนั่นเอง จึงปรากฏว่า ดังกะยกวัตร เป็นศีล ดั่งกะยกอาบัติเล็ก เป็นอาบัติใหญ่
ฉะนั้น อธิศีล อธิจิต อธิปัญญา ที่อาจจะใช้คำเปรียบ ไป แบบนี้ ก็ควรอาจน่าจะมี ได้, คือ ผู้ที่ ยกเรื่องเล็ก เป็นเรื่องใหญ่ นัยเพราะ อำนาจแห่งการฝึกหัดดี แล้ว ของตน, หรือบ้างก็มีที่ยกเรื่องใหญ่เป็นเรื่องเล็ก ซึ่งก็เหมือนกัน อันนัยเพราะ อำนาจแห่งการฝึกหัดดี แล้ว ของตน, เช่นเรื่อง พระศาสดาบัญญัติปาราชิก ข้อที่ ๕ เป็นต้น (จริงๆ แค่อาบัติเล็กน้อย), และเช่นเรื่อง พระศาสดาแสดงฤทธิ์เองได้ เป็นต้น (ซึ่งจริงๆ อาจแต่เพียงเทศนา ก็พึงคงจะเพียงพอแล้ว) ด้วยเพราะโปรดเป็นพิเศษ, แล้ว ครั้ง เมื่อ ยกความ มาที่ ข้อ ที่มี การฝึกฝนฝึกหัด และบำเพ็ญอัตรา ทางใจ ไป ในแบบจำลอง หรือผัง ตามภาพคิดที่ใหญ่กว่า หรือใหญ่กว่าไปเรื่อยๆ ก็อย่างเช่น, เป็น ระดับหมู่บ้าน แล้วระดับตำบล แล้วระดับอำเภอ แล้วระดับจังหวัดล่ะ แล้วระดับประเทศล่ะ แล้วระดับโลกล่ะ จะทำอย่างไร?
ฉะนั้น เมื่อมีผัง หรือแบบจำลองการฝึก ที่หาเรื่องใหญ่ไปเรื่อยๆ หรือหาคิดหาทำ แต่เรื่องที่ใหญ่กว่าไปเรื่อยๆ, แล้ว เรื่อง ก็จึงเกิดประมาณในพระพุทธเจ้าพระองค์อื่นขึ้นมา, คือ สุดท้ายแล้ว ก็คิดเพียงแต่ว่า พระโคตมะ เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์น้อย พระองค์เล็ก ตน! มิเลื่อมใสเพียงไรนัก, คิดโน้มน้อม ไปในพระไวโรจนะ หรือพระเมตตรัย ดูท่า จะยังคงดีเสียกว่า, ถึงผู้ที่ฝึกในภาพใหญ่ ไปเรื่อย นั้น คงแต่ จะสร้างบ้าน สร้างรถ สร้างเจดีย์ เป็นรูปขนมเค้ก นั่นแหละ แล้วก็นำมาฉัน”
⌨️🖱️🧑💻…sattakayo ca akaso cakkavala canantaka buddhananam appameyyam na sakka ete vijanitum…💻🪪✍️
⌨️🖱️🧑💻…💻🪪✍️
“การประพฤติถูก การประพฤติชอบ ในกามคุณ, เมื่อเปรียบเทียบ และหากให้พิจารณา ว่า เป็นอย่างไร? ในเรื่องเหล่านี้, หากย้อนไปในต้นทาง ก็ย่อมมีประวัติให้ศึกษา อยู่ ย้อนไปไม่ไกลนัก, แลก็พึง ได้หน้าที่ ที่ต้องศึกษา ไปตามความจำเป็น แค่เรื่อง ปู่กับย่า เท่านั้น เพราะ ย้อนไปกว่านั้น มีปกติ ไม่ได้พบได้เห็น และไม่เคยได้รู้จัก เรื่องทวด เลยแต่ประการไร ในส่วนเรื่อง ของตากับยาย ก็พอกันกับเรื่อง ปู่ย่า เพราะตากับยาย ก็ไม่ได้แสดงเรื่องทวดให้ปรากฏ ว่าจะพึงต้องศึกษา ว่าพึงต้องรู้ ไปโดยสำคัญอย่างไร?, ฉะนั้น จึงอาจเห็นว่า มิใช่หน้าที่ ที่เป็นไปตามความจำเป็น ที่จะต้องศึกษา เข้าใจ หรือสำคัญไปในการศึกษาค้นคว้า แบบสืบประวัติไปไกล ๆ หรือล่วงหน้าไปกว่านี้มาก ๆ โดยที่พึงถือเป็นกิจสำคัญ
ดังนี้ ตาม ห้องเวลา ๙ อย่าง ที่พึงตระหนัก อันที่ได้เสนอไว้แล้วนั้น อันได้แก่
เวลานานจนนับไม่ได้ ๑
เวลา ๑ ร้อยปี ๑
เวลา ปี ๑
เวลา เดือน ๑
เวลา วัน ๑
เวลา ชั่วโมง ๑
เวลา นาที ๑
เวลา วินาที ๑
และเวลา ที่เร็ว จนนับไม่ได้ ๑
เช่นนี้ อาตมา ย่อม หมายถึง การตรา แลแสดง อัตราลักษณ์ อย่างสามัญ, ที่ไป ที่เป็นอยู่ ในสติ อย่างโสตประสาทธรรมดา อย่างที่เรียกว่า จิตเล็กน้อย ไม่มีประมาณ หรือที่เรียกว่า ขณิกภาวนา ตามสติปัญญาพละกำลัง ของกายใจที่มีปกติรู้สัมปชัญญะ แล้วมีการกำหนดความรู้ทั่วตัวพร้อม ได้อยู่
ฉะนั้น เรื่อง จึง ไป ๆ มา ๆ ในอรรถประโยชน์ ตามอรรถาธิบาย อย่างนี้ ไปทั้งหมดเท่านั้น, เช่น ยกว่า วันมี ๓ วัน คือ วันก่อน, วันนี้ และวันพรุ่งนี้ และวันอื่น ๆ นอกจากนี้, แลเมื่อมาถึงการพิจารณา ตาม อัตราลักษณ์สามัญ ตามประเภท ทั้ง ๙ ฉะนั้น ก็เหมือนกัน, เช่นว่า ๑ ร้อยปีก่อน, ๑ ร้อย ปี ปัจจุบัน, ๑ ร้อยปีอนาคต, และ ๑ ร้อยปีอื่น ๆ นอกไปกว่า จากนี้, แล ก็จงให้เข้าใจว่า ชวนจิต หรือ ขณะจิตที่รวดเร็ว ก็อย่างนี้ คือการพ้นไปได้ หรือพ้นไปไม่ได้นั่นเอง, จวบกระทั่งเวลานานก็ย่อมเหมือนกัน ก็เรียกว่า ขณะ! เหมือนกัน, แลย่อมจัดว่า นานอันอดีตนั้น, นานอันปัจจุบันนี้, แลนานอันอนาคตที่นับไม่ได้, และความพ้นได้ ด้วย อันนาน อื่น ๆ กว่า ที่ นาน! โดย ๓ อย่างนั้น, ดังนั้นแล้ว จึงรวม ๙ เมื่อ ทวีคูณ ๓ แล้ว ตามอัตราลักษณ์ ๓ อย่าง ที่เปรียบเทียบ ดั่ง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ได้ตรึงไว้ ๙ คูณลักษณ์ ๓ อย่าง เป็น ๒๗ อย่าง, แล้วเมื่อ จะเรียน หรือ จะสถิตสถาปนา อย่าง นักษัตร ๒๘ อย่าง ก็จงย่นย่อ หรือขยายความเอา ไปตาม วิธี ๗ อย่าง คือ ย่อมได้แทรก นักษัตร ชื่อ อภิชิต นั่น นั้นเข้ามาอีก นักษัตร ๑
และเรื่อง ชื่อ อภิชิต เช่นนี้แล อาตมา จำพึงต้อง ระลึก ไปถึงเรื่อง คน หรือ สัตว์ หรือซึ่งการแทรกแซง อะไร ที่ดั่งกะมีอภิสิทธิ์ เข้ามาแทรกแทรงได้ คือ ทำลายความสงบความผาสุก ที่อาจจะยังไม่มั่นคง ของเราได้, เช่นเรื่อง สัตว์อภิสิทธิ์ ที่ชัดเจน ที่สามารถ ก่อความรบกวนรำคาญ สำหรับอาตมา ก็พบแต่ การแก้จิต รำคาญ นกพิราบ! ยุง! มด! โดยมากประจำทุกวัน, เรื่อง อาจมาให้รบกวน และรำคาญ ได้ โดยไม่มีเวลาอย่างไรเลย, ซึ่ง ข้อนี้ ก็อาจจะพยากรณ์ และสรุปสารูปว่า หากอยู่ไปอย่างนี้ ก็ต้องประสบสภาวะนี้ ไปตลอดไป ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต และเวลาอื่น ๆ กว่านี้, แลยกมาที่ ประเด็นงานศาสนา หลังจากที่แจ้งแล้วว่า ในชั่วโมงที่แล้ว ชั่วโมงนี้ และชั่วโมงหน้า หรือเวลาอื่น ในสถานที่เดียวกัน หรือปัจจัยมูลฐานเดียวกัน ก็ย่อมประสบสัตว์รบกวน ไปอย่างนี้ นั้น แน่นอน
แล้ว เมื่อ ยกมาประเด็นทางศาสนา ก็จงพึงควร ยกว่า และรู้ว่า กำลังยก และกล่าวว่าไปถึง นับตรงที่เป็นวัตถุเรื่อง หรือ ห้วงเวลานั้น ๆ คือ ประมาณ ที่ ๑ ร้อยปี ๓ อย่าง นั้น (ปฏิทินภาวนา ๑ ร้อยปีแบบพิสดารอาตมาได้ทำไว้แล้ว), และนานกระทั่ง นับไม่ได้ ๓ อย่าง นั้น, ก็จงรู้ และเข้าใจไปอย่างนี้ก่อนเถิด ส่วน การว่าเรื่องปักษ์ ก็จงพึงว่า ปักษ์ก่อน ปักษ์นี้ และปักษ์หน้า ซึ่งว่า อย่างพิสดาร ก็จงว่าลง ส่วนเสี้ยวที่ ๑๖ ฉะนั้น ณ จุดที่ ไม่มีปรากฏ ว่าเรื่องพึงเป็นอย่างไรให้นับ”
แสดงความคิดเห็น