พระสุตตันตปิฎก
ขุททกนิกาย อปทาน๑
เล่มที่ ๙
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าอาทิผิด พระองค์นั้น
ภัททาลิวรรคที่ ๔๒
๓. เถราปทาน
ภัททาลิเถราปทานที่ ๑ (๔๑๑)
ว่าด้วยผลแห่งการมุงมณฑปด้วยดอกรัง
[๑] พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า
สุเมธะ ผู้เลิศ ประกอบด้วยพระกรุณา เป็นมุนี
ปรารถนาความวิเวก เลิศในโลกได้เสด็จเข้าไปยัง
ป่าหิมพานต์
ครั้นแล้ว พระสุเมธสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้นำ
โลก ประเสริฐอาทิผิด อักขระกว่าบุรุษ ได้ประทับนั่งขัดสมาธิ
พระพุทธเจ้าผู้นำโลก พระนามว่าสุเมธะผู้สูงสุด
กว่าบุรุษ พระองค์ประทับนั่งขัดสมาธิอยู่ ๗ คืน
๗ วัน
เราถือหาบเข้าไปกลางป่า ณ ที่นั้นเราได้
เห็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ข้ามโอฆะได้แล้ว
ไม่มีอาสวะ
๑. บาลีเล่มที่ ๓๓
๗๒/๑/๑

ปริมาณนี้คือ ช้างพัง ๖ เชือก กับช้างพลาย ๑ เชือก เป็นอนีกะหนึ่ง
๗ อนีกะเช่นนี้ ชื่อว่า สัตตหัตถิกอนีกะ.
บทว่า ทิคุณา ได้แก่ ๒ ชั้น.
บทว่า ติคุณา ได้แก่ ๓ ชั้น รองเท้ามีชั้นตั้งแต่ ๔ ชั้นขึ้นไป
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า รองเท้าหลายชั้น.
บทว่า สพฺพนีลกา ได้แก่ เขียวล้วนทีเดียว. แม้ในสีต่างอาทิผิด อักขระ ๆ มี
เหลืองล้วนเป็นต้น ก็มีนัยเหมือนกัน. ก็บรรดารองเท้าสีเหล่านั้น รองเท้า
เขียวคราม มีสีคล้ายสีดอกผักตบ รองเท้าเหลืองมีสีคล้ายดอกกรรณิการ์ รอง-
เท้าแดง มีสีคล้ายดอกชบา รองเท้าแดงสำลาน คือแดงอ่อน มีสีคล้ายฝาง
รองเท้าดำ มีสีคล้ายสีลูกประคำดีควาย รองเท้าแดงเข้ม มีสีคล้ายหลังตะขาบ
รองเท้าแดงกลาย ๆ มีสีเจือกัน คล้ายสีใบไม้เหลือง, แต่ในกุรุนทีแก้ว่ามีสีคล้าย
ดอกบัวหลวง. บรรดารองเท้าเหล่านี้ ภิกษุได้ชนิดใดชนิดหนึ่งแล้ว เอาผ้าเช็ดอาทิผิด อักขระ
น้ำยาทำลายสีเสียแล้วสวม ควรอยู่. แม้ทำลายสีเสียเพียงเล็กน้อย ก็ควร
เหมือนกัน.
บทว่า นีลวทฺธิกา ได้แก่ รองเท้าที่มีหูเท่านั้นเขียว. แม้ในสีทั้งปวง
มีสีเหลืองเป็นต้น มีนัยเหมือนกัน. แม้รองเท้าที่มีหูเขียวเป็นต้น เหล่านั้น
ก็พึงทำลายสีเสียแล้วจึงค่อยสวม.
บทว่า ขลฺลกพทฺธา ได้แก่ รองเท้าที่ทำติดแผ่นหนังที่พื้นขึ้นมา
เพื่อปิดส้น. รองเท้าของชาวโยนกเรียกว่า รองเท้าหุ้มเป็นกระบอกได้แก่
รองเท้าที่ปิดเท้าทั้งหมดจนถึงแข้ง.
บทว่า ปาลิคุณฺฐิมา ได้แก่ รองเท้าที่หุ้มหลังอาทิผิด อาณัติกะเท้า ปิดแค่เพียงบน
หลังเท่านั้น ไม่ปิดแข้ง.
บทว่า ตูลปุณฺณิกา ได้แก่ รองเท้าที่ทำยัดด้วยปุยนุ่น.
๗/๒๔/๔๗

เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้ ครั้นให้อภัย ให้ความไม่มีเวรอาทิผิด อักขระ ให้
ความไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้แล้ว ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่ง
ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนหาประมาณมิได้ นี้เป็น
ทานข้อคำรบ ๕ ซึ่งเป็นทานใหญ่ ปรากฏว่าเลิศ ปรากฏโดยราตรี ปรากฏ
ว่าเป็นวงศ์ เป็นธรรมเก่าแก่ อันสมณพราหมณ์และผู้รู้ทั้งหลาย มิได้
ลบล้าง ไม่รังเกียจอยู่ จักไม่รังเกียจ ไม่คัดค้านแล้ว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ทาน ๕ ประการนี้แล เป็นทานใหญ่ ปรากฏว่าเลิศ ปรากฏโดยราตรี ปรากฏ
ว่าเป็นวงศ์ เป็นธรรมเก่าแก่ อันสมณพราหมณ์ทั้งหลาย มิได้ลบล้าง ไม่
เคยลบล้าง ไม่รังเกียจอยู่ จักไม่รังเกียจ ไม่คัดค้านแล้ว ดังนี้๑ เป็นสูตร
มีอยู่จริง มิใช่หรือ ?
ส. ถูกแล้ว.
ป. ถ้าอย่างนั้น ทาน ก็คือ เจตสิกธรรม น่ะสิ.
[๑๑๔๓] ส. ไม่พึงกล่าวว่า ทาน คือ ไทยธรรม หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า บุคคลบางคนใน
โลกนี้ ย่อมให้ข้าว ให้น้ำ ให้ผ้า ให้ยาน ให้ดอกไม้ ให้ของหอม ให้เครื่อง
ลูบไล้ ให้ที่นอน ให้ที่พัก ให้เครื่องประทีป ดังนี้ เป็นสูตรมีอยู่จริง มิใช่
หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. ถ้าอย่างนั้น ทาน คือ ไทยธรรม น่ะสิ.
๑. องฺ. อฏฺฐก ๒๓/๑๒๙.
๘๑/๑๑๔๓/๕๕

แสดงว่า ธรรมนี้เป็นไปด้วยพยัญชนะ เพราะฉะนั้น จึงควรฟัง ด้วย
คำหลังทรงแสดงว่า ธรรมนี้เป็นไปด้วยเนื้อความ เพราะฉะนั้น จึงควร
ทำไว้ในใจ. อีกอย่างหนึ่ง ควรประกอบสาธุกบทด้วยบท ๒ บท พึง
ทราบการประกอบความอย่างนี้ว่า เพราะธรรมนี้ลึกซึ้งโดยธรรม และ
ลึกซึ้งโดยเทศนาอาทิผิด สระ ฉะนั้น พวกเธอจงฟังให้ดี. เพราะเหตุที่ธรรมนี้ลึกซึ้ง
โดยอรรถและลึกซึ้งโดยปฏิเวธ ฉะนั้น พวกเธอจงทำในใจให้ดี. บทว่า
ภาสิสฺสามิ แปลว่า จักแสดง. ในคำว่า ตํ สุณาถ นี้ ท่านอธิบาย
ว่า เราจักสังเขปความ แสดงเทศนาที่เราปฏิญญาไว้แล้วนั้น.
อีกอย่างหนึ่งแล เราจักไม่กล่าวแม้โดยพิสดาร. อนึ่ง บทเหล่านี้
เป็นบทบอกความย่อและพิสดารไว้ เหมือนดังที่ท่านพระวังคีสเถระกล่าว
ไว้ว่า
สงฺขิตฺเตนปิ เทเสติ วิตฺถาเรนปิ ภาสติ
สาลิกายิว นิคฺโฆโส ปฏิภาณํ อุทิรียตํ.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมโดยย่อบ้าง
ตรัสโดยพิสดารบ้าง ทรงมีพระสุรเสียงกังวานดัง
นกสาลิกา ทรงแสดงออกซึ่งปฏิภาณ.
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วอย่างนี้ ภิกษุเหล่านั้นแลเกิดความ
อุตสาหะแล้ว ฟังตอบพระผู้มีพระภาคเจ้า มีคำอธิบายรับแล้ว คือรับ
รองพระดำรัสของพระศาสดาว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
บทว่า ภควา เอตทโวจ ความว่า ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า
๒๖/๓/๑๔

ข้าวสวย กับข้าวและแกง เป็นต้น รวมด้วยเนยใส และน้ำมันเป็นต้น
อันประณีตตามควรแก่เวลานั้น ๆ สำหรับผู้ที่มีประสงค์จะถือเอาไป ก็ทรง
ให้โดยทำนองนั้นนั่นแหละ จนเต็มภาชนะ. แต่ในเวลาเย็นทรงบูชาด้วยผ้า
ของหอม และดอกไม้เป็นต้น ส่วนตุ่มใหญ่สำหรับใส่เนยเป็นต้น ก็ให้ใส่
ให้เต็มแล้วตั้งไว้ในที่หลายร้อยแห่ง ด้วยตั้งพระทัยว่าผู้ใดมีประสงค์จะ
บริโภคสิ่งใด ผู้นั้นจงบริโภคสิ่งนั้นเถิด ดังนี้. ท่านหมายเอาเหตุนั้น
จึงกล่าวว่า ยัญนั้นได้ถึงความสำเร็จได้ด้วยเนยใส น้ำมัน เนยข้น นมส้ม
น้ำผึ้ง และน้ำอ้อย ดังนี้.
บทว่า นำเอาทรัพย์มามากมาย คือ ถือเอาทรัพย์มากล้น. ได้ยิน
ว่า ชนเหล่านั้นคิดว่า พระราชานี้มิได้ทรงให้นำเนยใสและน้ำมันเป็นต้น
มาจากชนบท ทรงนำสิ่งของอันเป็นส่วนของพระองค์เท่านั้น ออกมาให้
เป็นมหาทาน การที่พวกเราจะนิ่งเสียด้วยคิดว่า ก็พระราชาไม่ทรงให้พวก
เรานำสิ่งใดมา ดังนี้ หาควรไม่ ดังนี้ เพราะว่าทรัพย์ในเรือนของพระราชา
จะไม่หมดไม่สิ้นไปเป็นธรรมดา ก็หาไม่ ก็เมื่อพวกเราไม่ให้อยู่ ใครอื่น
จักถวายแด่พระราชา เอาเถอะ เราจะรวบรวมทรัพย์มาถวายแด่พระองค์.
พวกเขาจึงรวบรวมทรัพย์ตามส่วนของบ้าน ตามส่วนของนิคม และตาม
ส่วนของนคร บรรทุกอาทิผิด สระจนเต็มเกวียนแล้ว นำไปถวายแด่พระราชา. ท่าน
หมายเอาทรัพย์นั้น จึงกล่าวคำว่า “ทรัพย์มากมาย” เป็นต้น.
บทว่า ทางด้านทิศบูรพาแห่งหลุมยัญ คือ ในส่วนแห่งทิศบูรพา
ของโรงทานที่ประตูนครทางทิศบูรพา ชนทั้งหลายตั้งทานไว้ ในที่ที่
เหมาะเจาะ โดยประการที่พวกชนผู้มาจากทิศบูรพา ดื่มข้าวยาคูในโรงทาน
๑๒/๒๓๘/๘๒

นางภัททาขึ้นทางซ้าย แล้วกล่าวว่า เราจักรู้ว่า ดอกไม้ย่อมเหี่ยว ณ ข้างของ
ผู้ใด ราคะจิตเกิดแล้วแก่ผู้นั้น พวงดอกไม้นี้ไม่พึงเป็นดอกไม้สด. คน
ทั้งสองนั้นไม่ก้าวล่วงลงสู่ความหลับเลย ปล่อยให้ ๓ ยามแห่งราตรีล่วงไป
เพราะกลัวแต่สัมผัสแห่งร่างกายของกันและกัน, ส่วนในกลางวันแม้เพียง
ยิ้มแย้มก็มิได้มี คนทั้งสองนั้นไม่ได้คลุกคลีด้วยโลกามิส ไม่ได้พิจารณา
ถึงขุมอาทิผิด อักขระทรัพย์ตลอดเวลาที่มารดาบิดายังดำรงชีพอยู่ เมื่อมารดาบิดาทำกาละ
แล้วจึงพิจารณา. สมบัติของมาณพมีดังต่อไปนี้ :-
ในวันหนึ่ง ควรได้จุณทองคำที่เขาขัดถูร่างกายแล้วพึงทิ้งไปประมาณ
๑๒ ทะนานโดยทะนานมคธ, สระใหญ่ ๖๐ สระผูกติดเครื่องยนต์ การ
งานประมาณ ๑๒ โยชน์, บ้านส่วย ๑๔ ตำบล เท่าเมืองอนุราธบุรี, ยาน
ที่เทียมด้วยช้าง ๑๔, ยานที่เทียมด้วยม้า ๑๔, ยานที่เทียมด้วยรถ ๑๔.
วันหนึ่งมาณพนั้นขึ้นม้าที่ประดับแล้ว แวดล้อมไปด้วยมหาชน
ไปยังที่ทำงาน ยืนอยู่ที่ปลายนา เห็นนกมีกาเป็นต้น จิกสัตว์มีไส้เดือน
เป็นต้นกัดกินจากที่ที่ถูกไถทำลาย จึงถามว่า พ่อทั้งหลาย สัตว์เหล่านี้
กินอะไร ชนทั้งหลายกล่าวว่า กินไส้เดือน ผู้เป็นเจ้า. มาณพกล่าวว่า
บาปที่สัตว์เหล่านั้นกระทำย่อมมีแก่ใคร. ชนทั้งหลายตอบว่า มีแก่ท่านผู้
เป็นเจ้า.
เขาคิดว่า ถ้าบาปที่สัตว์เหล่านี้กระทำมีแก่เราไซร้ ทรัพย์ ๘๗
โกฏิจักกระทำประโยชน์อะไรแก่เรา การงาน ๑๒ โยชน์จะทำอะไร สระที่
ผูกติดเครื่องยนต์จะทำอะไร บ้านส่วย ๑๔ ตำบลจะทำอะไร เราจักมอบ
ทรัพย์ทั้งหมดนี้ให้นางภัททกาปิลานี แล้วออกบวช.
๕๓/๓๙๘/๓๕๗

วะวับรุ่งเรืองตั้งอยู่ ดังดาวประกายพรึก มีรัศมีมาก
เมื่อเหล่าโยธาของเรามีกำลัง คือ อาวุธ ทรงสังวาลคือ
เกราะ ไม่ล่าหนีในสงครามเช่นนี้ พระเจ้าวิเทหราช
จะพ้นไปได้ที่ไหน หากจะเป็นเหมือนนกบินไปทาง
อากาศ จักทำได้อย่างไร ก็โยธาของเราทั้งหมด
๓๙,๐๐๐ ซึ่งเราเที่ยวไปทั่วแผ่นดิน ไม่เห็นเทียมทัน
สามารถตัดศีรษะข้าศึกเอามาคนละศีรษะได้ อนึ่งช้าง
พลายทั้งหลายอันประดับแล้ว มีกำลัง อายุ ๖๐ ปี
เหล่าโยธาหนุ่ม ๆ มีผิวพรรณดังทองคำงดงามอยู่บน
คอ โยธาทั้งหลายมีเครื่องประดับสีเหลือง นุ่งผ้า
สีเหลือง ห่มผ้าเฉวียงอาทิผิด อักขระบ่าสีเหลือง งดงามอยู่บนคอช้าง
ดังเทพบุตรทั้งหลายในนันทนวัน ดาบทั้งหลายมีสีดังอาทิผิด
ปลาสลาดขัดถูอาทิผิด อักขระด้วยน้ำมัน แสงวะวับ อันเหล่าโยธา
ผู้วีรบุรุษทำเสร็จแล้ว มีคมเสมอ มีคมยิ่ง เงาวับ
ดาบทั้งหลายหาสนิมมิได้ ทำด้วยเหล็กกล้ามั่นคง อัน
เหล่าโยธาผู้มีกำลัง เชี่ยวชาญในวิธีประหาร ถือเป็น
คู่มือแล้ว เหล่าโยธาผู้ถึงพร้อมด้วยความงามดังทองคำ
สวมเสื้อสีแดง กวัดแกว่งดาบย่อมงดงาม ดังสายฟ้า
แวบวับอยู่ในระหว่างก้อนอาทิผิด อาณัติกะเมฆ เหล่าโยธาผู้กล้าหาญ
สวมเกราะ สามารถยังธงให้สะบัดในอากาศ ฉลาด
ในการใช้ดาบและเกราะถือดาบ ฝึกมาอย่างชำนาญ
สามารถจะตัดคอช้างให้ขาดตกลง (แต่กาลก่อน) ท่าน
เป็นผู้อันหมู่ชนเช่นนี้แวดล้อม แต่กาลนี้ ความพ้นภัย
๖๓/๖๕๙/๓๑๙

คู่หนึ่งชื่อว่าวิธุระและสัญชีวะเป็นคู่เจริญเลิศ สาวกทั้งหลายของพระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าพระนามว่ากกุสันธะผู้เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่มีสาวกใด ๆ
จะเสมอเหมือนด้วยท่านวิธุระ ในการแสดงธรรม ด้วยปริยายนี้ท่านวิธุระ
จึงมีชื่อว่า วิธุโร ส่วนท่านสัญชีวะไปสู่ป่าบ้าง ไปสู่โคนต้นไม้บ้าง ไปสู่เรือน
ว่างบ้าง ย่อมเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธโดยไม่ยากเลย.
ดูก่อนมารผู้ลามก เรื่องเคยมีมาแล้ว ท่านสัญชีวะนั่งเข้าสัญญาเวทยิ-
ตนิโรธ ณ โคนไม้แห่งหนึ่ง พวกคนเลี้ยงโค เลี้ยงปศุสัตว์ ชาวนา นักท่องเที่ยว
ได้เห็นท่านสัญชีวะเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ณ โคนไม้แห่งหนึ่ง ครั้นเห็นแล้วก็
คิดว่า น่าอัศจรรย์จริงหนอ พ่อคุณเอ๋ย ไม่เคยมีมาแล้ว สมณะนี้นั่งมรณภาพ
พวกเราช่วยกันเผาเถิด.
ลำดับนั้น คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ ชาวนา นักท่องเที่ยวจึงลาก
หญ้าฟืนโคมัย แล้วสุมบนกายของท่านสัญชีวะจุดไฟกลับไป ลำดับนั้น ท่าน
พระสัญชีวะโดยราตรีนั้นล่วงไปออกจากสมาบัติสลัดจีวร นุ่งในตอนเช้าถือ
บาตรและจีวรเข้าไปบ้านเพื่อบิณฑบาต คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ ชาวนา นัก
ท่องเที่ยวอาทิผิด อักขระเห็นท่านสัญชีวะออกบิณฑบาต จึงคิดว่า น่าอัศจรรย์จริงพ่อคุณเอ๋ย
ไม่เคยมีมาแล้ว พระสมณะนี้นั่งมรณภาพ ท่านฟื้นขึ้นมาแล้ว โดยปริยายนี้แล
ท่านสัญชีวะจึงมีชื่อว่า สญฺชีโว ด้วยประการฉะนี้แล.
ส่วนพระขาณุโกณฑัญญเถระตามปกติเป็นผู้มากด้วยสมาบัติ พระ-
เถระนั้น นั่งเข้าสมาบัติตลอดคืนในป่าแห่งหนึ่ง โจร ๕๐๐ ลักข้าวของเดินไป
ประสงค์จะพักผ่อนด้วยคิดว่า บัดนี้ไม่มีคนเดินตามรอยเท้าพวกเรา จึงวางข้าว
ของลงสำคัญว่าตอไม้ วางข้าวของทั้งหมดไว้บนร่างของพระเถระนั่นเอง เมื่อ
พวกโจรพักผ่อนแล้วเตรียมจะเดินต่อไป ในขณะที่จะถือข้าวของอาทิผิด ที่วางไว้คราว
๖๙/๖๙๔/๗๔๖

จึงชื่อว่า นำลงแล้วซึ่งเครื่องหมายของคฤหัสถ์.
[๗๗๘] คำว่า เหมือนต้นปาริฉัตตกะมีใบทึบ ความว่า พระ-
ปัจเจกสัมพุทธเจ้านั้น ทรงบาตรและจีวรครบ เหมือนต้นปาริฉัตตกะ
คือ ต้นทองหลางมีใบหนา มีร่มเงาชิด ฉะนั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า
เหมือนต้นปาริฉัตตกะมีใบทึบ.
[๗๗๙] คำว่า ครองผ้าย้อมน้ำฝาดออกบวช ความว่า พระ-
ปัจเจกสัมพุทธเจ้านั้น ตัดกังวลในฆราวาสทั้งหมด ตัดกังวลในบุตรและ
ภรรยา ตัดกังวลในญาติ ตัดกังวลในความสั่งสม ปลงผมและหนวดแล้ว
ครองผ้ากาสายะ ออกบวชเป็นบรรพชิต เข้าถึงความเป็นผู้ไม่อาทิผิด อาณัติกะมีกังวล
เป็นผู้เดียวเที่ยวไป เที่ยวไปทั่ว ดำเนิน เป็นไป รักษา บำรุง เยียวยา
เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ครองผ้าย้อมน้ำฝาดออกบวช พึงเที่ยวไปผู้เดียว
เหมือนนอแรดฉะนั้น เพราะเหตุนั้น พระปัจเจกสัมพุทธเจ้านั้นจึงกล่าว
ว่า
พระปัจเจกสัมพุทธเจ้านำลงแล้วซึ่งเครื่องหมายของ
คฤหัสถ์ ครองผ้าย้อมน้ำฝาดอาทิผิด อักขระออกบวช เหมือนต้น
ปาริฉัตตกะมีใบทึบ พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด
ฉะนั้น.
[๗๘๐] พระปัจเจกสัมพุทธเจ้า ไม่ทำความติดใจในรสทั้ง-
หลาย ไม่มีตัณหาอันเป็นเหตุให้เหลวไหล ไม่เลี้ยงผู้อื่น
เที่ยวไปตามลำดับตรอก มีจิตไม่พัวพันในสกุล พึงเที่ยว
ไปผู้เดียวเหมือนนอแรดฉะนั้น.
๖๗/๗๗๙/๖๐๔

วาที ไม่ทรงมุ่งร้ายต่อพวกพราหมณ์ พระองค์ทรงผนวชจากสกุลสูง คือ
สกุลกษัตริย์อันไม่เจือปน พระองค์ผนวชจากสกุลมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก
มีโภคสมบัติมาก ชนต่างรัฐต่างชนบทพากันมาทูลถามปัญหากะพระองค์
เทวดาหลายพันมอบชีวิตถึงพระองค์เป็นสรณะ เกียรติศัพท์อันงามของ
พระองค์ฟุ้งขจรไปแล้วอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้า
พระองค์นั้น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชา
และจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกคนผู้ควร
ฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นพระศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็น
ผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกพระธรรม พระองค์ทรงประกอบด้วยมหา-
ปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ พระองค์มีปกติกล่าวเชื้อเชิญ เจรจาผูก
ไมตรี ช่างปราศรัย มีพระพักตร์ไม่สยิ้ว มีพระพักตร์เบิกบาน มีปกติ
ตรัสก่อน พระองค์เป็นผู้อันบริษัท ๔ สักการะเคารพ นับถือ บูชา
นอบน้อม เทวดาและมนุษย์เป็นอันมาก เลื่อมใสในพระองค์ยิ่งนัก พระ
องค์ทรงพำนักอยู่ในบ้านหรือนิคมใด บ้านหรือนิคมนั้น อมนุษย์ไม่
เบียดเบียนมนุษย์ พระองค์เป็นเจ้าหมู่เจ้าคณะ และเป็นคณาจารย์ ได้
รับยกย่องว่า เป็นยอดของเจ้าลัทธิเป็นอันมาก สมณพราหมณ์เหล่านี้เรือง
ยศด้วยประการอาทิผิด อักขระ ใด ๆ แต่พระสมณโคดม ไม่เรืองยศอย่างนั้น ที่แท้
พระสมณโคดม เรืองยศด้วย วิชชา และจรณสมบัติ อันยอดเยี่ยม
พระเจ้ากรุงมคธทรงพระนามว่า เสนิยะ พิมพิสาร พร้อมทั้งพระโอรสและ
พระมเหสี ทั้งราชบริพารและอำมาตย์ ทรงมอบชีวิตถึงพระองค์เป็นสรณะ
พระเจ้าปเสนทิโกศล พร้อมทั้งพระโอรสและพระมเหสี ทั้งราชบริพาร
และอำมาตย์ทรงมอบชีวิตถึงพระองค์เป็นสรณะ พราหมณ์โปกขรสาติ
พร้อมทั้งบุตรและภริยา ทั้งบริวารและอำมาตย์ มอบชีวิตถึงพระองค์
๑๒/๒๐๓/๔๕

เป็นมัชฌิมชนบท. ในทิศทักษิณ มีนิคมอาทิผิด อักขระชื่อว่าเสตกัณณิกะ ถัดจาก
เสตกัณณิกนิคมนั้นไปเป็นปัจจันตชนบท ร่วมในเป็นมัชฌิมชนบท
ในทิศประจิม มีบ้านพราหมณ์ ชื่อว่าถูนะ ถัดจากบ้านพราหมณ์นั้นไป
เป็นปัจจันตชนบท ร่วมในเป็นมัชฌิมชนบท ในทิศอุดร มีภูเขา
ชื่อว่า อุสีรธชะ ถัดจากเขานั้นไปเป็นปัจจันตชนบท ร่วมในเป็น
มัชฌิมชนบท. พระตถาคตย่อมอุบัติ ในมัชฌิมประเทศ ที่ท่านกำหนด
ดังกล่าวมาแล้วนั้น โดยส่วนยาว วัดได้ ๓๐๐ โยชน์ โดยส่วนกว้าง
วัดได้ ๑๕๐ โยชน์ วัดโดยรอบได้ ๙๐๐ โยชน์. อนึ่งพระตถาคต
หาได้อุบัติแต่ลำพังพระองค์อย่างเดียวอาทิผิด อักขระไม่ พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย
พระอัครสาวก พระอสีติมหาเถระ แม้ท่านผู้มีบุญอื่น ๆ ก็ย่อมเกิด
ขึ้น. พระพุทธมารดา พระพุทธบิดา พระเจ้าจักรพรรดิ์ และ
พราหมณ์คฤหบดี ผู้เป็นบุคคลสำคัญเหล่าอื่น ก็ย่อมเกิดในมัชฌิม-
ประเทศนี้เหมือนกัน.
ก็บทว่า อุปฺปชฺชมาโน อุปฺปชฺชติ ทั้งสองนี้ เป็นคำกล่าว
ค้างไว้เท่านั้น. ก็ในคำนี้พึงทราบความอย่างนี้ว่า พระตถาคตเมื่อ
อุบัติ ย่อมอุบัติเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมาก หาอุบัติ
ด้วยเหตุอื่นไม่. ก็ในอธิการนี้ ลักษณะเห็นปานนี้ ใคร ๆ หาอาจ
คัดค้านคำทั้งสองนั่นโดยลักษณะศัพท์อื่นไม่.
อีกอย่างหนึ่ง พึงทราบความต่างกันในคำนี้ ดังนี้ว่า อุปฺปชฺ-
ชมาโน นาม (ชื่อว่าเมื่อจะอุบัติ ) อุปฺปชฺชติ นาม (ชื่อว่ากำลังอุบัติ)
อุปฺปนฺโน นาม (ชื่อว่าอุบัติแล้ว.) จริงอยู่ พระพุทธองค์ได้รับคำ
๓๒/๑๔๕/๑๘๙

อาจจะนำไปจำหน่ายเสีย ณ ชนบทก็เป็นได้ เพราะฉะนั้น พระมหาสัตว์จึง
ทรงรับพร คือขอให้มอบแคว้นของตน ๆ แก่กษัตริย์เหล่านั้น ส่วนเจ้าโปริสาท
เมื่อจะถวายพระพรแด่พระมหาสัตว์ จึงได้กล่าวคาถาว่า
กษัตริย์ ๑๐๑ พระองค์ ที่หม่อมฉันร้อยพระหัตถ์
ไว้ พระพักตร์นองด้วยพระอัสสุชลกันแสงอยู่นั้น
หม่อมฉันจะปล่อยให้กลับไปสู่แคว้นของตน ๆ นี้เป็น
พระพรข้อที่สาม หม่อมฉันยอมถวาย.
ครั้นเมื่อพระโพธิสัตว์จะทรงรับพรข้อที่สี่ จึงได้ตรัสพระคาถานี้ว่า
รัฐมณฑลของพระองค์เป็นช่อง เพราะนรชน
เป็นอันมาก หวาดเสียวเพราะภัย หนีเข้าที่ซ่อนเร้น
ขอพระองค์จงเว้นจากเนื้อมนุษย์เสียเถิด นี้เป็นพรข้อ
ที่สี่ หม่อมฉันอาทิผิด อักขระปรารถนา.
ในคาถานั้นมีอรรถาธิบายว่า แคว้นของพระองค์ที่อยู่กันเป็นปึกแผ่น
กลายเป็นช่อง เพราะบ้านเป็นต้นตั้งอยู่ในแคว้นนั้น ๆ ต้องทิ้งบ้านช่องแตก
กระจายไป. บทว่า พฺยถิตา ภยา หิ ความว่า นรชนทั้งหลายหวาดเสียว
เพราะความกลัวท่านว่า เจ้าโปริสาทจักมาในบัดนี้. บทว่า เลณมนุปฺปวิฏฺ-
ฐา ความว่า พากันอุ้มลูกจูงหลาน หนีเข้าไปหาที่ซ่อนเร้นมีชัฏหญ้าเป็นต้น.
บทว่า มนุสฺสมํสํ ความว่า ขอพระองค์ละเว้นเนื้อมนุษย์ ซึ่งเป็นของปฏิ-
กูลน่าเกลียด มีกลิ่นเหม็นเสียเถิด คือจงเว้นขาดจากเนื้อมนุษย์เสียเถิด.
เมื่อพระโพธิสัตว์ตรัสอย่างนี้แล้ว เจ้าโปริสาทปรบมือหัวเราะทูลว่า
พระสหายสุตโสมพูดถึงเรื่องนี้ละหรือ พระพรนี้เท่ากับชีวิต หม่อมฉันจักถวาย
แด่พระองค์อย่างไรได้ ถ้าพระองค์ใคร่จะรับ จงรับพรอย่างอื่นเถิด แล้วกล่าว
๖๒/๓๙๓/๗๐๐

ขาดกับบทเจตนาเครื่องทุศีลอันเป็นมิจฉาชีพ ซึ่งเกิดขึ้นในฐานะทั้ง ๗
เหล่านี้แล นี้ชื่อว่า สัมมาอาชีวะ.
บทว่า อนุปฺปนฺนานํ ความว่า เห็นอารมณ์ทั้งหลายเห็นปานนั้น
ในเรือนแห่งหนึ่ง ย่อมยังฉันทะให้เกิด เพื่อความไม่เกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม
อันเป็นบาปซึ่งยังไม่เกิดขึ้นแก่ตน หรือว่าเห็นอารมณ์ทั้งหลาย ที่กำลังเกิดขึ้น
แก่ผู้อื่น ย่อมยังฉันทะให้เกิด เพื่อความไม่เกิดขึ้น แห่งอกุศลธรรมอันเป็น
บาป ซึ่งยังไม่เกิดขึ้น อย่างนี้ว่า โอหนอ ธรรมอันเป็นบาปเห็นปานนี้
ไม่พึงเกิดขึ้นแก่เรา ดังนี้. บทว่า ฉนฺทํ ความว่า ย่อมยังวิริยฉันทะ
เป็นเหตุให้สำเร็จแห่งการปฏิบัติมิให้อกุศลธรรมเหล่านั้นเกิดขึ้น ให้เกิดขึ้น.
บทว่า วายมติ ได้แก่ ย่อมทำความพยายาม. บทว่า วิริยํ อารภติ
ได้แก่ ย่อมยังความเพียรให้เป็นไป. บทว่า จิตฺตํ ปคฺคณฺหาติ ความว่า
ย่อมทำจิตอันความเพียรประคองไว้แล้ว. บทว่า ปทหติ ความว่า ย่อมยัง
ความเพียรให้อาทิผิด สระเป็นไปว่า หนัง เอ็น และกระดูกอาทิผิด จงเหือดแห้งไปก็ตามอาทิผิด อักขระเถิด. บทว่า
อุปฺปนฺนานํ ความว่า เคยเกิดขึ้นแล้วแก่ตน ด้วยสามารถความฟุ้งซ่าน
ย่อมยังฉันทะให้เกิด เพื่อละอกุศลธรรมเหล่านั้น ด้วยคิดว่า บัดนี้ เราจัก
ไม่ให้อกุศลธรรมทั้งหลายเช่นนั้นเกิดขึ้น.
บทว่า อนุปฺปนฺนานํ กุสลานํ ความว่า กุศลธรรมมีปฐมฌาน
เป็นต้น ที่ยังไม่ได้. บทว่า อุปฺปนฺนานํ ได้แก่ กุศลธรรมเหล่านั้นนั่นแล
ที่ตนได้แล้ว. บทว่า ฐิติยา ความว่า เพื่อความตั้งมั่นด้วยสามารถความ
เกิดขึ้นติดกันบ่อย ๆ. บทว่า อสมฺโมสาย ได้แก่ เพื่อความไม่สูญหาย.
บทว่า ภิยฺโย ภาวาย ได้แก่ เพื่อสูงขึ้นไป. บทว่า เวปุลฺลาย ได้แก่
เพื่อความไพบูลย์. บทว่า ปาริปูริยา ได้แก่ เพื่อให้ภาวนาบริบูรณ์.
สัมมาวายามะ แม้นี้ชื่อว่า ต่างกันในส่วนเบื้องต้น เพราะอกุศลธรรมที่ยัง
๓๐/๔๑/๓๐
เก้าอย่างไม่ให้เหลือ. บทว่า วิชฺชายนฺตกโร ได้แก่ ผู้กระทำที่สุดแห่งกิเลส
ทั้งหลายด้วยวิชชา. บทว่าอาทิผิด อาณัติกะ สมิตาวี ได้แก่ เป็นผู้สงบเพราะกิเลสมีราคะ
เป็นต้นสงบ.
จบอรรถกถาเปสลาติมัญญนาสูตรที่ ๓
๔. อานันทสูตร
ว่าด้วยวิธีแก้จิตกระสัน
[๗๓๕] สมัยหนึ่ง ท่านพระอานนท์อยู่ที่พระวิหารเชตวัน อาราม
ของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี.
ครั้งนั้นแล ในเวลาเช้า ท่านพระอานนท์นุ่งแล้วถือบาตรและจีวร
เข้าไปเที่ยวบิณฑบาตในกรุงสาวัตถี มีท่านพระวังคีสะเป็นปัจฉาสมณะ
ก็โดยสมัยนั้นแล ความกระสันได้เกิดขึ้น ความกำหนัดย่อมรบกวนจิตของท่าน
พระวังคีสะ.
[๗๓๖] ครั้งนั้นแล ท่านพระวังคีสะได้กล่าวกะท่านพระอานนท์ด้วย
คาถาว่า
ข้าพเจ้าเร่าร้อนเพราะกามราคะ จิต
ของข้าพเจ้ารุ่มร้อน ขอท่านจงบอกวิธี
เป็นเครื่องดับราคะ เพื่ออนุเคราะห์แก่
ข้าพเจ้าด้วยเถิด โคดม.
[๗๓๗] ท่านพระอานนท์จึงกล่าวว่า
จิตของท่านรุ่มร้อนอาทิผิด อาณัติกะ เพราะสัญญา
อันวิปลาส ท่านจงละเว้นนิมิตอันสวยงาม
อันเกี่ยวด้วยราคะเสีย ท่านจงเห็นสังขาร
๒๕/๗๓๗/๓๑๓
๙. กูฏวินิจฉยีกเปตวัตถุ
ว่าด้วยเปรตจิกกินเนื้อหลังของตนกิน
พระนารทเถระถามเปรตตนหนึ่งว่า
[๑๑๙] ตัวท่านทัดทรงดอกไม้ ใส่ชฎาอาทิผิด อักขระ สวมกำไล
ทอง ลูบไล้ด้วยจุณจันทน์ มีสีหน้าผ่องใส
งดงามดุจสีพระอาทิตย์อุทัยขึ้นมาในอากาศ
มีนางฟ้าหมื่นหนึ่งเป็นบริวารบำรุงบำเรอท่าน
นางฟ้าเหล่านั้นล้วนสวมกำไลทอง นุ่งห่มผ้าอัน
ขลิบด้วยทองคำ ท่านเป็นผู้มีอานุภาพมาก มีรูป
เป็นที่ให้เกิดขนชูชันแก่ผู้พบเห็น แต่ท่านจิกเนื้อ
ที่หลังของตนกินเป็นอาหาร ท่านได้ทำกรรมชั่ว
อะไรไว้ด้วยกาย วาจา ใจ เพราะวิบากแห่งกรรม
อะไร ท่านจึงจิกเนื้อหลังของตนเองกินเป็น
อาหาร.
เปรตนั้นตอบว่า
กระผมได้ประพฤติทุจริตด้วยการส่อเสียด
พูดเท็จและหลอกลวง เพื่อความฉิบหายแก่ตน
ในมนุษยโลก กระผมไปแล้วบริษัทในมนุษย-
โลกนั้น เมื่อเวลาควรจะพูดความจริงปรากฏแล้ว
๔๙/๑๑๙/๔๓๓
ช้างเหล่านั้น ย่อมบันลือเสียงน่าหวาดกลัว
โกรธแม้แต่ลมที่พัดถูกตัว ถ้าเห็นมนุษย์ ณ ที่นั้น
เป็นต้องขยี้เสีย ให้เป็นภัสมธุลี แม้แต่ละอองก็ไม่
ถูกต้องพญาช้างได้เลย.
[๒๓๓๖] ข้าแต่พระราชเทวี เครื่องอาภรณ์ที่
แล้วไปด้วยเงิน แก้วมุกดา แก้วมณี และแก้วไพฑูรย์
มีอยู่ในราชสกุลมากมาย เหตุไร พระแม่เจ้า จึงทรง
พระประสงค์เอางาช้างมาทำเป็นเครื่องประดับเล่า พระ-
แม่เจ้าทรงปรารถนาจะให้ฆ่าพญาช้าง ซึ่งมีงามีรัศมี
๖ ประการเสีย หรือว่าจะให้พญาช้างฆ่าพวกเชื้อแถว
ของนายพรานเสียกระมัง.
[๒๓๓๗] ดูก่อนนายพราน เรามีทั้งความริษยา
ทั้งความน้อยใจ เพราะนึกถึงความหลังเข้าก็ตรอมใจ
ขอท่านจงทำตามความประสงค์ของเรา เราจักให้บ้าน
ส่วยแก่ท่าน ๕ ตำบล.
[๒๓๓๘] พญาช้างนั้นอยู่ที่ตรงไหน เข้าไปยืน
อยู่ที่ไหน ทางไหนเป็นทางที่พญาช้างไปอาบน้ำ อนึ่ง
พญาช้างนั้นอาบน้ำอย่างไร ทำไฉน ข้าพระพุทธเจ้า
จึงจะรู้คติของพญาช้างได้ ?
[๒๓๓๙] ในที่ ๆ พญาช้างอยู่นั้น มีสระอยู่
ใกล้อาทิผิด สระ ๆ น่ารื่นรมย์ มีท่าราบเรียบ ทั้งน้ำก็มาก สะพรั่ง
ไปด้วยพรรณไม้ดอก มีหมู่ภมรมาเคล้าคลึง พญาช้าง
ลงอาบน้ำในสระนี้แหละ.
๖๑/๒๓๓๙/๓๗๒
๗. มีพระบาทเหมือนสังข์คว่ำ.
๘. มีพระชงฆ์รีเรียวดุจแข้งเนื้อทราย.
๙. เสด็จสถิตยืนอยู่มิได้น้อมลง เอาฝ่าพระหัตถ์ทั้งสองลูบ
คลำได้ถึงพระชานุทั้งสอง.
๑๐. มีพระคุยหะเร้นอยู่ในฝัก.
๑๐. มีพระฉวีวรรณอาทิผิด อักขระดุจวรรณแห่งทองคำ คือ มีพระตจะประ-
ดุจหุ้มด้วยทอง.
๑๒. มีพระฉวีละเอียด เพราะพระฉวีละเอียด ธุลีละอองจึงมิ
ติดอยู่ในพระกายได้.
๑๓. มีพระโลมชาติเส้นหนึ่ง ๆ เกิดในขุมละเส้น ๆ.
๑๔. มีพระโลมชาติที่มีปลายช้อยขึ้นข้างบน มีสีเขียว มีสี
เหมือนดอกอัญชัน ขดเป็นกุณฑลทักษิณาวัฏ.
๑๕. มีพระกายตรงเหมือนกายพรหม.
๑๖. มีพระมังสะเต็มในที่ ๗ สถาน.
๑๗. มีกึ่งพระกายท่อนบนเหมือนกึ่งกายท่อนหน้าของราช-
สีห์.
๑๘. มีระหว่างพระอังสะเต็ม.
๑๙. มีปริมณฑลดุจไม้นิโครธ วาของพระองค์เท่ากับพระกาย
ของพระองค์ พระกายของพระองค์เท่ากับวาของพระองค์.
๒๐. มีลำพระศอกลมเท่ากัน.
๒๑. มีปลายเส้นประสาทสำหรับนำรสอาหารอันดี.
๒๒. มีพระหนุดุจคางราชสีห์.
๒๓. มีพระทนต์ ๔๐ ซี่.
๑๓/๒๙/๑๙

ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ดุจกาลที่หอยโข่งและหอยกาบอาทิผิด สระเป็นต้นแจ่ม-
แจ้งแล้วแก่บุรุษผู้มีจักษุยืนดูอยู่ที่ฝั่ง ฉะนั้น.
บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อทรงถือเอาชื่อพระขีณาสพ ทั้ง
เพศ ทั้งคุณ ด้วยอาการ ๗ อย่าง จึงตรัสบทว่า อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
สมโณ อิติปิ เป็นต้น. พึงทราบวินิจฉัยในบทเหล่านั้น ในบทว่า เอวํ โข
ภิกฺขเว ภิกฺขุ สมโณ โหติ เป็นต้น อธิบายว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุชื่อว่า สมณะ เพราะมีบาปอันสงบแล้วด้วยอาการ
อย่างนี้. ชื่อว่า พราหมณ์ เพราะมีบาปอันลอยแล้ว. ชื่อว่า นหาตกะ
(ผู้อาบ) เพราะมีกิเลสล้างออกแล้ว คือมีกิเลสอันกำจัดออกแล้ว. ชื่อว่า
เวทคู เพราะอกุศลธรรมทั้งหลายไปแล้ว ด้วยเวททั้งหลาย คือ มรรคญาณ
๔ อธิบายว่า เพราะรู้แล้ว. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสว่า
วิทิตสฺส โหนฺติ เป็นต้น. ชื่อว่า โสตติยะ เพราะกิเลสทั้งหลายหลับไปแล้ว
คือว่า เพราะกิเลสทั้งหลายไม่ไหลออกไปมา. ชื่อว่า อริยะ เพราะไกลจาก
กิเลสทั้งหลาย อธิบายว่า เพราะกิเลสทั้งหลายถูกกำจัดแล้ว. ชื่อว่า อรหันต์
เพราะไกล คือว่า เป็นผู้ห่างไกลแล้ว. คำที่เหลือในที่ทั้งปวง ปรากฏแจ่มแจ้ง
แล้วแล.
จบอรรถกถามหาอัสสปุรสูตรที่ ๙
๑๙/๔๗๘/๒๓๖

อากาโส) อากาศหาที่สุดมิได้ เข้าอากาสานัญจายตนฌานอยู่ บุคคลนั้นติดใจ
ยินดีปลื้มใจด้วยฌานนั้น ยับยั้งอยู่ในฌานนั้น ปักใจในฌานนั้น น้อมใจอยู่
ด้วยฌานนั้น มากด้วยฌานนั้นอยู่ไม่เสื่อม (จากฌานนั้น ) จนกระทำกาลกิริยา
ย่อมไปเกิดอยู่ร่วมกับเทวดาเหล่าอากาสานัญจายตนะ
ภิกษุทั้งหลาย ๒๐,๐๐๐ กัปเป็นประมาณอายุของเทวดาเหล่าอากา-
สานัญจายตนะ (บุคคลผู้สำเร็จฌานนั้น ) ที่เป็นปุถุชน อยู่จนตลอดกำหนด
อายุในเทวโลกชั้นนั้นแล้ว (จุติจากเทวโลกนั้น) ไปนรกก็ได้ ไปกำเนิด
ดิรัจฉานก็ได้ ไปกำเนิดเปรตก็ได้ ส่วน (บุคคลผู้สำเร็จฌานนั้น ) ที่เป็น
สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า อยู่ตลอดกำหนดอายุในเทวโลกชั้นนั้นแล้วย่อม
ปรินิพพานอาทิผิด ในภพนั้นนั่นเอง นี่เป็นความพิเศษแปลกต่างกันแห่งอริยสาวกผู้ได้
สดับกับปุถุชนผู้มิอาทิผิด สระได้สดับ เฉพาะในเมื่อคติอุปบัติมีอยู่ (คือยังต้องเวียนเกิดอยู่)
อีกข้อหนึ่ง บุคคลลางคนในโลกนี้ล่วงอากาสานัญจายตนะหมด (ถือ
วิญญาณเป็นอารมณ์) บริกรรมว่า (อนนฺตํ วิญฺาณํ) วิญญาณหาที่สุดมิได้
เข้าวิญญาณัญจายตนฌานอยู่ บุคคลนั้นติดใจยินดีปลื้มใจด้วยฌานนั้น ยับยั้ง
อยู่ในฌานนั้น ปักใจในฌานนั้น น้อมใจอยู่ด้วยฌานนั้น มากด้วยฌานนั้นอยู่
ไม่เสื่อม (จากฌานนั้น) จนกระทำกาลกิริยา ย่อมไปเกิดอยู่ร่วมกับเทวดาเหล่า
วิญญาณัญจายตนะ.
ภิกษุทั้งหลาย ๔๐,๐๐๐ กัป เป็นประมาณอายุของเทวดาเหล่าวิญญา-
ณัญจายตนะ. (บุคคลผู้สำเร็จฌานนั้น) ที่เป็นปุถุชน อยู่ตลอดกำหนดอายุ
ในเทวโลกชั้นนั้นแล้ว (จุติจากเทวโลกนั้น) ไปนรกก็ได้ ไปกำเนิดดิรัจฉาน
ก็ได้ ไปกำเนิดเปรตก็ได้ ส่วน (บุคคลผู้สำเร็จฌานนั้น) ที่เป็นสาวกของ
พระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่ตลอดกำหนดอายุในเทวโลกชั้นนั้นแล้ว ย่อมปรินิพพาน
ในภพนั้นนั่นเอง นี่เป็นความพิเศษแปลกต่างกันแห่งอริยสาวกผู้ได้สดับกับ
ปุถุชนผู้อาทิผิด มิได้สดับ เฉพาะในเมื่อคติอุปบัติมีอยู่
๓๔/๕๕๖/๕๓๑

พาธุระหน้าที่ของลูกผู้ชายทั้ง ๔ อย่าง คือ ทาน ศีล ภาวนา และ
มิตรภาพ ที่ลูกผู้ชายทั้งหลายจะพึงนำพา ย่อมยังเหตุเครื่องกระทำ
ความปราโมทย์กล่าวคือมิตรภาพนี้ และสุขอันเป็นเหตุนำมาซึ่งสรร-
เสริญให้เกิด คือ ให้เจริญ ท่านแสดงว่า ไม่ทำลายมิตรภาพให้แตก
จากบัณฑิตทั้งหลาย. บทว่า ปวิเวกรสํ ได้แก่ รสแห่งกายวิเวก
จิตตวิเวก และอุปธิวิเวก คือ รสแห่งความโสมนัสอันอาศัยวิเวก
เหล่านั้นเกิดขึ้น. บทว่า อุปสมสฺส จ ได้แก่ โสมนัสอันได้แล้ว
เพราะความสงบระงับกิเลส. บทว่า นิทฺทโร โหติ นิปฺปาโป ความว่า
ชื่อว่าเป็นผู้ไม่มีความกระวนกระวาย เพราะไม่มีความกระวนกระวาย
ด้วยอำนาจของกิเลสอาทิผิด สระทั้งปวง ชื่อว่าเป็นผู้ไม่มีบาป เพราะไม่มีกิเลส.
บทว่า ธมฺมปีติรสํ ความว่า ดื่มรสกล่าวคือธรรมปีติ ได้แก่ ปีติอัน
เกิดแต่วิมุตติ.
พระมหาสัตว์สยดสยองการเกลือกกลั้วกับปาปมิตร จึงถือเอา
ยอดแห่งเทศนา โดยให้บรรลุพระอมตมหานิพพาน ด้วยรสแห่งวิเวก
ด้วยประการฉะนี้.
พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว จึง
ทรงประชุมชาดกว่า เศรษฐีชาวปัจจันตคามในครั้งนั้น ได้เป็นเศรษฐี
ชาวปัจจันตคามนี้แหละ ส่วนพาราณสีเศรษฐีในครั้งนั้น ได้เป็นเรา
ตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาหิริชาดกที่ ๓
๕๘/๗๖๗/๘๑๑