ชื่อว่ากายิกะ. แม้ความคะนองเป็นไปทางวาจาและเป็นไปทางจิต ก็มีนัยนี้
เหมือนกัน . บทว่า อจิตฺติการกโต ไม่ทำความเคารพ คือเว้นจากความ
นับถือมาก. บทว่า อนุปาหนานํ จงฺกมนฺตานํ เมื่อภิกษุผู้เป็นเถระเดิน
ไม่สวมรองเท้า คืออยู่ในที่ใกล้ภิกษุผู้เป็นเถระผู้เดินไม่สวมรองเท้า หรือ
บทนี้เป็นฉัฏฐีวิภัตติลงในอนาทระ คือแปลว่า เมื่อ. บทว่า สอุปาหโน
คือ เดินสวมรองเท้า. บทว่า นีเจ จงฺกเม จงฺกมนฺตานํ เมื่อภิกษุผู้เป็น
เถระเดินในที่จงกรมต่ำ คือเมื่อภิกษุผู้เป็นเถระเดินจงกรมในพื้นที่ที่มิได้ทำ
การกำหนดไว้ เดินจงกรมในที่จงกรมซึ่งกำหนดไว้ เกลี่ยทรายทำที่เกาะ
แม้ต่ำ. บทว่า อุจฺเจ จงฺกเม จงฺกมติ เดินในที่จงกรมสูง คือในที่
จงกรมสูงล้อมด้วยเวทีก่ออิฐ. หากล้อมด้วยกำแพงประกอบด้วยซุ้มประตู
ก็ย่อมควรเพื่อเดินในที่จงกรมเช่นนั้น ซึ่งปกปิดไว้ด้วยดี ในระหว่างภูเขา
ระหว่างป่าและระหว่างพุ่มไม้. แม้ในที่ไม่ปกปิดละอุปจารเสียก็ควร. บท
ว่า ฆฏยนฺโตปิ ติฏฺฐติ ยืนเบียดบ้าง คือยืนใกล้เกินไป.บทอาทิผิด อักขระ ว่า ปุรโตปิ-
ติฏฺฐติ คือ ยืนบังหน้าบ้าง. บทว่า ฐิตโกปิ ภณติ ยืนทื่อพูดบ้าง คือ
พูดไม่ก้มเหมือนตอไม้. บทว่า พาหาวิกฺเขปโก แกว่งแขน คือแกว่งแขน
ไปข้างโน้นข้างนี้พูด. บทว่า อนุปขชฺช นั่งแทรกแซง คือเข้าไปยังที่ที่
พระเถระทั้งหลายนั่ง. บทว่า นเวปิ ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหติ นั่งกีด
กันอาสนะพวกภิกษุนวกะบ้าง คือไม่นั่งบนอาสนะที่ถึงตนแล้ว เข้าไป
แทรกข้างหน้าบ้างข้างหลังบ้าง ชื่อว่ากีดกันอาสนะ. บทว่า อนาปุจฺฉาปิ
กฏฺํ ปกฺขิปติ ไม่บอกก่อนแล้วใส่ฟืนบ้าง คือไม่บอกไม่ขอความยินยอม
แล้วใส่ฟืนในไฟบ้าง. บทว่า ทฺวารํ ปิทหติ ปิดประตู คือปิดเรือนไฟ.
บทว่า โอตรติ หยั่งลง คือเข้าไปยังท่าน้ำ บทว่า นหายติ อาบน้ำ คือ
เหมือนกัน . บทว่า อจิตฺติการกโต ไม่ทำความเคารพ คือเว้นจากความ
นับถือมาก. บทว่า อนุปาหนานํ จงฺกมนฺตานํ เมื่อภิกษุผู้เป็นเถระเดิน
ไม่สวมรองเท้า คืออยู่ในที่ใกล้ภิกษุผู้เป็นเถระผู้เดินไม่สวมรองเท้า หรือ
บทนี้เป็นฉัฏฐีวิภัตติลงในอนาทระ คือแปลว่า เมื่อ. บทว่า สอุปาหโน
คือ เดินสวมรองเท้า. บทว่า นีเจ จงฺกเม จงฺกมนฺตานํ เมื่อภิกษุผู้เป็น
เถระเดินในที่จงกรมต่ำ คือเมื่อภิกษุผู้เป็นเถระเดินจงกรมในพื้นที่ที่มิได้ทำ
การกำหนดไว้ เดินจงกรมในที่จงกรมซึ่งกำหนดไว้ เกลี่ยทรายทำที่เกาะ
แม้ต่ำ. บทว่า อุจฺเจ จงฺกเม จงฺกมติ เดินในที่จงกรมสูง คือในที่
จงกรมสูงล้อมด้วยเวทีก่ออิฐ. หากล้อมด้วยกำแพงประกอบด้วยซุ้มประตู
ก็ย่อมควรเพื่อเดินในที่จงกรมเช่นนั้น ซึ่งปกปิดไว้ด้วยดี ในระหว่างภูเขา
ระหว่างป่าและระหว่างพุ่มไม้. แม้ในที่ไม่ปกปิดละอุปจารเสียก็ควร. บท
ว่า ฆฏยนฺโตปิ ติฏฺฐติ ยืนเบียดบ้าง คือยืนใกล้เกินไป.
ติฏฺฐติ คือ ยืนบังหน้าบ้าง. บทว่า ฐิตโกปิ ภณติ ยืนทื่อพูดบ้าง คือ
พูดไม่ก้มเหมือนตอไม้. บทว่า พาหาวิกฺเขปโก แกว่งแขน คือแกว่งแขน
ไปข้างโน้นข้างนี้พูด. บทว่า อนุปขชฺช นั่งแทรกแซง คือเข้าไปยังที่ที่
พระเถระทั้งหลายนั่ง. บทว่า นเวปิ ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหติ นั่งกีด
กันอาสนะพวกภิกษุนวกะบ้าง คือไม่นั่งบนอาสนะที่ถึงตนแล้ว เข้าไป
แทรกข้างหน้าบ้างข้างหลังบ้าง ชื่อว่ากีดกันอาสนะ. บทว่า อนาปุจฺฉาปิ
กฏฺํ ปกฺขิปติ ไม่บอกก่อนแล้วใส่ฟืนบ้าง คือไม่บอกไม่ขอความยินยอม
แล้วใส่ฟืนในไฟบ้าง. บทว่า ทฺวารํ ปิทหติ ปิดประตู คือปิดเรือนไฟ.
บทว่า โอตรติ หยั่งลง คือเข้าไปยังท่าน้ำ บทว่า นหายติ อาบน้ำ คือ
๖๖/๔๔๑/๙๗
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น