สวนทางพวกโจรไปก็ดี ไม่เป็นสินใช้แก่เธอเหล่านั้น. ถ้าข้าวยาคูและภัต
หรืออาหารที่จะพึงถวายในวิหารไม่มีแก่ภิกษุผู้รับหน้าที่รักษาวิหาร, จะตั้งสลาก
ข้าว ยาคูอาทิผิด ๒-๓ ที่ ซึ่งมีเหลือเฟืออาทิผิด จากลาภที่ภิกษุเหล่านั้นพึงได้ และสลากภัต
พอแก่ภิกษุผู้เฝ้าวิหารเหล่านั้น ก็ควร แต่ไม่ควรตั้งให้เป็นประจำ. เพราะว่า
พวกชาวบ้าน จะมีความร้อนใจว่า พวกภิกษุผู้รับหน้าที่เฝ้าวิหารเท่านั้น
ย่อมฉันภัตของพวกเรา. เพราะเหตุนั้น จึงควรผลัดเปลี่ยนวาระกันตั้งไว้.
ถ้าพวกภิกษุที่เป็นสภาคกัน ของภิกษุรับวาระเฝ้าวิหารเหล่านั้น นำสลากภัต
มาถวาย, ข้อนั้นก็เป็นการดี, ถ้าไม่ถวาย, ควรให้ภิกษุทั้งหลายรับวาระแล้ว
ให้นำมาถวายเถิด. ถ้าภิกษุผู้รับหน้าที่รักษาวิหาร เมื่อได้รับสลากข้าวยาคู
๒-๓ ที่ และสลากภัต ๔ - ๕ ที่เสมอ ยังไปภิกขาจาร, สิ่งของหายไปทั้งหมด
เป็นสินใช้แก่เธอ เหมือนภิกษุภัณฑาคาริก ฉะนั้น. ถ้าภัตหรือค่าจ้างเพื่อภัต
ของสงฆ์ ที่จะพึงถวายแก่ภิกษุผู้เฝ้าวิหารไม่มี ภิกษุรับเอาตามวาระเฝ้าวิหาร
แล้ว จึงให้นิสิตของตน ๆ ช่วยปฏิบัติจะไม่รับเอาวาระที่มาถึง ย่อมไม่ได้,
ควรทำเหมือนอย่างที่ภิกษุเหล่าอื่นทำอยู่ฉะนั้น. แต่ว่าภิกษุใด ไม่มีสหายหรือ
เพื่อน ไม่มีภิกษุผู้ชอบพอกันที่จะนำภัตมาให้, ภิกษุทั้งหลาย ไม่ควรให้วาระ
ถึงแก่ภิกษุเห็นปานนั้น. ภิกษุทั้งหลายตั้งแม้ส่วนใดไว้ในวิหาร เพื่อประโยชน์
เป็นเสบียงกรัง. ควรตั้งภิกษุผู้รับเอาส่วนนั้นเลี้ยงชีพ ( ให้เป็นผู้รับวาระ ).
ภิกษุใดไม่รับเอาส่วนนั้นเลี้ยงชีพ, ไม่ควรให้ภิกษุนั้นรับวาระ. ภิกษุทั้งหลาย
แต่งตั้งภิกษุไว้ในวิหาร แม้เพื่อต้องการให้รักษาผลไม้น้อยใหญ่, ครั้นปฏิบัติ
รักษาแล้วก็แจกกันฉันตามคราวแห่งผลไม้. ภิกษุที่ฉันผลไม้เหล่านั้น ควรตั้ง
ให้รับวาระ. ภิกษุผู้ไม่อาศัย (ผลไม้นั้น) เลี้ยงชีพ ไม่ควรให้รับวาระ. ภิกษุ
ทั้งหลายจะแต่งตั้งภิกษุไว้ แม้เพื่อต้องการให้รักษาเสนาสนะ เตียง ตั่ง และ
หรืออาหารที่จะพึงถวายในวิหารไม่มีแก่ภิกษุผู้รับหน้าที่รักษาวิหาร, จะตั้งสลาก
พอแก่ภิกษุผู้เฝ้าวิหารเหล่านั้น ก็ควร แต่ไม่ควรตั้งให้เป็นประจำ. เพราะว่า
พวกชาวบ้าน จะมีความร้อนใจว่า พวกภิกษุผู้รับหน้าที่เฝ้าวิหารเท่านั้น
ย่อมฉันภัตของพวกเรา. เพราะเหตุนั้น จึงควรผลัดเปลี่ยนวาระกันตั้งไว้.
ถ้าพวกภิกษุที่เป็นสภาคกัน ของภิกษุรับวาระเฝ้าวิหารเหล่านั้น นำสลากภัต
มาถวาย, ข้อนั้นก็เป็นการดี, ถ้าไม่ถวาย, ควรให้ภิกษุทั้งหลายรับวาระแล้ว
ให้นำมาถวายเถิด. ถ้าภิกษุผู้รับหน้าที่รักษาวิหาร เมื่อได้รับสลากข้าวยาคู
๒-๓ ที่ และสลากภัต ๔ - ๕ ที่เสมอ ยังไปภิกขาจาร, สิ่งของหายไปทั้งหมด
เป็นสินใช้แก่เธอ เหมือนภิกษุภัณฑาคาริก ฉะนั้น. ถ้าภัตหรือค่าจ้างเพื่อภัต
ของสงฆ์ ที่จะพึงถวายแก่ภิกษุผู้เฝ้าวิหารไม่มี ภิกษุรับเอาตามวาระเฝ้าวิหาร
แล้ว จึงให้นิสิตของตน ๆ ช่วยปฏิบัติจะไม่รับเอาวาระที่มาถึง ย่อมไม่ได้,
ควรทำเหมือนอย่างที่ภิกษุเหล่าอื่นทำอยู่ฉะนั้น. แต่ว่าภิกษุใด ไม่มีสหายหรือ
เพื่อน ไม่มีภิกษุผู้ชอบพอกันที่จะนำภัตมาให้, ภิกษุทั้งหลาย ไม่ควรให้วาระ
ถึงแก่ภิกษุเห็นปานนั้น. ภิกษุทั้งหลายตั้งแม้ส่วนใดไว้ในวิหาร เพื่อประโยชน์
เป็นเสบียงกรัง. ควรตั้งภิกษุผู้รับเอาส่วนนั้นเลี้ยงชีพ ( ให้เป็นผู้รับวาระ ).
ภิกษุใดไม่รับเอาส่วนนั้นเลี้ยงชีพ, ไม่ควรให้ภิกษุนั้นรับวาระ. ภิกษุทั้งหลาย
แต่งตั้งภิกษุไว้ในวิหาร แม้เพื่อต้องการให้รักษาผลไม้น้อยใหญ่, ครั้นปฏิบัติ
รักษาแล้วก็แจกกันฉันตามคราวแห่งผลไม้. ภิกษุที่ฉันผลไม้เหล่านั้น ควรตั้ง
ให้รับวาระ. ภิกษุผู้ไม่อาศัย (ผลไม้นั้น) เลี้ยงชีพ ไม่ควรให้รับวาระ. ภิกษุ
ทั้งหลายจะแต่งตั้งภิกษุไว้ แม้เพื่อต้องการให้รักษาเสนาสนะ เตียง ตั่ง และ
๒/๑๗๕/๑๙๓
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น