ปกติเพ่งด้วยฌานแม้ทั้งสองคือ อารัมมณูปนิชฌาน [เพ่งอารมณ์]
ลักขณูปนิชฌาน [เพ่งลักษณะ]. อีกนัยหนึ่ง ผู้เผากิเลสที่ควรเผา และ
ธรรมอันเป็นฝ่ายของสังกิเลสทุกอย่างมั่นอยู่. จากฌานนั้นนั่นเอง ชื่อว่า
ฌานรตะ เพราะยินดีแล้วในฌาน. บทว่า สตํ แปลว่า มีอยู่ หรือ
สงบแล้ว. อธิบายว่า สัตบุรุษคนดี. บทว่า ปุปฺผาภิกิณฺณํ แปลว่า
เกลื่อนกล่นด้วยดอกไม้ทั้งหลาย. อธิบายว่า ดารดาษด้วยใบปทุมทั้งหลาย.
บทว่า ทุสฺสสนฺถตํ ได้แก่ เอาผ้าปูลาดไว้บนอาสนะ.
บทว่า อุปฑฺฒํ ปทุมมาลาหํ ได้แก่ เรา [โปรย] ดอกปทุม
ครึ่งหนึ่ง. บทว่า อาสนสฺส สมนฺตโต ได้แก่ ที่พื้นรอบอาสนะที่
พระเถระนั่ง. บทว่า อพฺโภกิริสฺสํ ได้แก่ โปรย โรย. อย่างไร. เอา
กลีบโปรย. อธิบายว่า เอากลีบปทุม ที่แยกเป็นสองส่วน ๆ ละครึ่ง
โปรยลงทำนองฝนดอกไม้ตกลงมา.
ด้วยบทว่า อิทํ เม อีทิสํ ผลํ นี้ เทวดารวมแสดงทิพย-
สมบัติของตน อันต่างโดยอายุ ยศ สุข และรูปเป็นต้น ที่พระเถระ
ระบุและไม่ระบุด้วยคำว่า กุญฺชโร เต วราโรโห เป็นต้น แล้วจึงกล่าว
คำเป็นต้นว่า สกฺกาโร ครุถาโร เพื่อแสดงอานุภาพของตนที่พระเถระ
มิได้ระบุไว้อีก. ด้วยคำนั้น เทวดาแสดงว่า มิใช่ผลบุญของดิฉันในที่นี้
ตามที่ท่านกล่าวมาแล้วอย่างเดียวเท่านั้น ที่แท้ ก็ยังมีแม้อธิปไตยทิพย์
นี้ด้วย. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สกฺกาโร ได้แก่ กิริยาโดยเอื้อเฟื้อ.
อธิบายว่า ความที่ตนอันทวยเทพพึงสักการะ. บทว่า ครุกาโร ก็
เหมือนกัน ได้แก่ ความที่ ตนอาทิผิด อักขระ อันทวยเทพพึงเคารพ. บทว่า เทวานํ
แปลว่า อันทวยเทพ. บทว่า อปจิตา ได้แก่ บูชาแล้ว.
ลักขณูปนิชฌาน [เพ่งลักษณะ]. อีกนัยหนึ่ง ผู้เผากิเลสที่ควรเผา และ
ธรรมอันเป็นฝ่ายของสังกิเลสทุกอย่างมั่นอยู่. จากฌานนั้นนั่นเอง ชื่อว่า
ฌานรตะ เพราะยินดีแล้วในฌาน. บทว่า สตํ แปลว่า มีอยู่ หรือ
สงบแล้ว. อธิบายว่า สัตบุรุษคนดี. บทว่า ปุปฺผาภิกิณฺณํ แปลว่า
เกลื่อนกล่นด้วยดอกไม้ทั้งหลาย. อธิบายว่า ดารดาษด้วยใบปทุมทั้งหลาย.
บทว่า ทุสฺสสนฺถตํ ได้แก่ เอาผ้าปูลาดไว้บนอาสนะ.
บทว่า อุปฑฺฒํ ปทุมมาลาหํ ได้แก่ เรา [โปรย] ดอกปทุม
ครึ่งหนึ่ง. บทว่า อาสนสฺส สมนฺตโต ได้แก่ ที่พื้นรอบอาสนะที่
พระเถระนั่ง. บทว่า อพฺโภกิริสฺสํ ได้แก่ โปรย โรย. อย่างไร. เอา
กลีบโปรย. อธิบายว่า เอากลีบปทุม ที่แยกเป็นสองส่วน ๆ ละครึ่ง
โปรยลงทำนองฝนดอกไม้ตกลงมา.
ด้วยบทว่า อิทํ เม อีทิสํ ผลํ นี้ เทวดารวมแสดงทิพย-
สมบัติของตน อันต่างโดยอายุ ยศ สุข และรูปเป็นต้น ที่พระเถระ
ระบุและไม่ระบุด้วยคำว่า กุญฺชโร เต วราโรโห เป็นต้น แล้วจึงกล่าว
คำเป็นต้นว่า สกฺกาโร ครุถาโร เพื่อแสดงอานุภาพของตนที่พระเถระ
มิได้ระบุไว้อีก. ด้วยคำนั้น เทวดาแสดงว่า มิใช่ผลบุญของดิฉันในที่นี้
ตามที่ท่านกล่าวมาแล้วอย่างเดียวเท่านั้น ที่แท้ ก็ยังมีแม้อธิปไตยทิพย์
นี้ด้วย. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สกฺกาโร ได้แก่ กิริยาโดยเอื้อเฟื้อ.
อธิบายว่า ความที่ตนอันทวยเทพพึงสักการะ. บทว่า ครุกาโร ก็
เหมือนกัน ได้แก่ ความ
แปลว่า อันทวยเทพ. บทว่า อปจิตา ได้แก่ บูชาแล้ว.
๔๘/๕/๖๑
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น