ไม่มีสัญญาในกรรมฐาน แม้เรียนมาแล้ว เข้าไปสู่บ้านเพื่อบิณฑะ เป็นผู้
คลุกคลีแล้ว โดยการคลุกคลีอันเป็นของคฤหัสถ์ อันไม่สมควร เที่ยวไปด้วย
ฉันอาหารด้วย (ทั้งเที่ยวทั้งกิน) ไร้ประโยชน์ก้าวไป ๆ (ทั้งไปทั้งกลับ).
ภิกษุเช่นนี้ ท่านเรียกว่า ย่อมไม่นำกรรมฐานไป ย่อมไม่
นำกรรมฐานกลับมา.
ส่วนภิกษุใด ที่ท่านกล่าวไว้ว่า ภิกษุนี้ ย่อมนำกรรมฐานไปด้วย
ย่อมนำกับมาด้วย ดังนี้ บัณฑิตพึงทราบภิกษุนั้น ด้วยสามารถแห่งวัตร
ของภิกษุผู้นำไปและนำกลับมา ซึ่งเป็นนัยตรงกันข้ามกับที่กล่าวแล้ว.
จริงอยู่ กุลบุตรทั้งหลาย ผู้ใคร่ประโยชน์บวชในพระพุทธศาสนาแล้ว
อยู่ร่วมกัน ๑๐ ปีบ้าง ๒๐ปีบ้าง ๓๐ ปีบ้าง ๔๐ ปีบ้าง ๕๐ ปีบ้าง ๑๐๐ ปีบ้าง
ย่อมกระทำกติกวัตรว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย พวกท่านมิได้บวชหนีหนี้ มิได้
บวชหนีภัย มิได้บวชเพื่อเลี้ยงชีพ แต่พวกท่านเป็นผู้ใคร่เพื่อจะพ้น
จากทุกข์ จึงบวชในพระพุทธศาสนานี้ เพราะฉะนั้น ถ้ากิเลสเกิด
ขึ้นในเวลาเดิน พวกท่านจงข่มกิเลสในขณะเดินนั้นนั่นแหละ กิเลส
เกิดขึ้นในเวลายืน นั่ง นอน ก็จงข่มกิเลสในเวลายืน นั่ง นอน
นั้นนั่นแหละ ดังนี้.
ภิกษุเหล่านั้น ครั้นทำกติกวัตรอย่างนี้แล้ว เมื่อไปภิกขาจาร ย่อม
มนสิการกรรมฐานด้วยสัญญาแห่งแผ่นหินที่มี อยู่อาทิผิด อักขระ ในระหว่างกึ่งอุสุภะบ้าง หนึ่ง
อุสุภะบ้าง กึ่งคาวุตบ้าง หนึ่งคาวุตบ้าง. ถ้ากิเลสของใคร ๆ เกิดขึ้นในขณะ
เดินไซร้ ผู้นั้นย่อมข่มกิเลสนั้นในที่นั้นนั่นแหละ แล้วจึงไป. เมื่อไม่อาจข่ม
ได้ เธอก็จะหยุดอยู่ เมื่อเป็นเช่นนั้น แม้ภิกษุผู้มาข้างหลังของเธอก็ต้องหยุด
ด้วย. ภิกษุ (ผู้หยุดก่อน) คิดว่า ภิกษุนี้ ย่อมรู้วิตกของเราที่เกิดขึ้น ข้อ
คลุกคลีแล้ว โดยการคลุกคลีอันเป็นของคฤหัสถ์ อันไม่สมควร เที่ยวไปด้วย
ฉันอาหารด้วย (ทั้งเที่ยวทั้งกิน) ไร้ประโยชน์ก้าวไป ๆ (ทั้งไปทั้งกลับ).
ภิกษุเช่นนี้ ท่านเรียกว่า ย่อมไม่นำกรรมฐานไป ย่อมไม่
นำกรรมฐานกลับมา.
ส่วนภิกษุใด ที่ท่านกล่าวไว้ว่า ภิกษุนี้ ย่อมนำกรรมฐานไปด้วย
ย่อมนำกับมาด้วย ดังนี้ บัณฑิตพึงทราบภิกษุนั้น ด้วยสามารถแห่งวัตร
ของภิกษุผู้นำไปและนำกลับมา ซึ่งเป็นนัยตรงกันข้ามกับที่กล่าวแล้ว.
จริงอยู่ กุลบุตรทั้งหลาย ผู้ใคร่ประโยชน์บวชในพระพุทธศาสนาแล้ว
อยู่ร่วมกัน ๑๐ ปีบ้าง ๒๐ปีบ้าง ๓๐ ปีบ้าง ๔๐ ปีบ้าง ๕๐ ปีบ้าง ๑๐๐ ปีบ้าง
ย่อมกระทำกติกวัตรว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย พวกท่านมิได้บวชหนีหนี้ มิได้
บวชหนีภัย มิได้บวชเพื่อเลี้ยงชีพ แต่พวกท่านเป็นผู้ใคร่เพื่อจะพ้น
จากทุกข์ จึงบวชในพระพุทธศาสนานี้ เพราะฉะนั้น ถ้ากิเลสเกิด
ขึ้นในเวลาเดิน พวกท่านจงข่มกิเลสในขณะเดินนั้นนั่นแหละ กิเลส
เกิดขึ้นในเวลายืน นั่ง นอน ก็จงข่มกิเลสในเวลายืน นั่ง นอน
นั้นนั่นแหละ ดังนี้.
ภิกษุเหล่านั้น ครั้นทำกติกวัตรอย่างนี้แล้ว เมื่อไปภิกขาจาร ย่อม
มนสิการกรรมฐานด้วยสัญญาแห่งแผ่นหินที่
อุสุภะบ้าง กึ่งคาวุตบ้าง หนึ่งคาวุตบ้าง. ถ้ากิเลสของใคร ๆ เกิดขึ้นในขณะ
เดินไซร้ ผู้นั้นย่อมข่มกิเลสนั้นในที่นั้นนั่นแหละ แล้วจึงไป. เมื่อไม่อาจข่ม
ได้ เธอก็จะหยุดอยู่ เมื่อเป็นเช่นนั้น แม้ภิกษุผู้มาข้างหลังของเธอก็ต้องหยุด
ด้วย. ภิกษุ (ผู้หยุดก่อน) คิดว่า ภิกษุนี้ ย่อมรู้วิตกของเราที่เกิดขึ้น ข้อ
๗๘/๗๔๐/๓๙๒
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น