วันอาทิตย์, กันยายน 17, 2566

Ma

 
องค์จงยกโทษให้อาตมาคืนนี้สักคืนหนึ่งเถอะ แล้วตั้งแต่วันพรุ่งนี้ไป
อาตมาจักไม่ทำอย่างนี้อีก ต่อมาอาทิผิด อักขระพอพระอาทิตย์อุทัย ท่านก็ได้เห็นเป็นวัว
แก่ตัวนั้น (ไม่ใช่ท้าวสักกะ) จึงเอาไม้ตะพดหวดตะเพิดไล่เตลิดเปิดเปิง
ไปพร้อมทั้งคำไล่หลังว่า แกทำให้ข้ากลัวตลอดคืนยังรุ่งเลย.
สติกับปัญญา
๔๑) บทว่า กุสีตา แปลว่า ตกอยู่ใต้อำนาจความเกียจคร้าน.
บทว่า หีนวีริยา ความว่า เสื่อม คือเว้น ได้แก่ปราศจากความ
เพียร อธิบายว่า ไม่มีความเพียร. ในบุคคล ๒ จำพวกนั้น คนที่เกียจ
คร้านย่อมเว้นจากการเริ่มความเพียรทางกาย คนที่ขาดความเพียรย่อมเว้น
จากการเริ่มความเพียรทางจิต ( สรุปแล้ว ) คนทั้ง ๒ จำพวกนั้นย่อมไม่
สามารถจะทำแม้เพียงการกำหนดอารมณ์ได้. คำทั้งหมดว่า เตสํ อววตฺถิ-
ตารมฺมณานํ (มีความหมาย) เหมือนกับความหมายที่กล่าวมาก่อนแล้ว.
๔๒ ) บทว่า มุฏฺฐสฺสตี แปลว่า ปล่อยสติ.
บทว่า อสมฺปชานา แปลว่า ปราศจากปัญญา ก็เพราะพระพุทธ-
ดำรัสว่า ตถาคตเป็นผู้มีสติตั้งมั่นแล้ว ในความหมายที่ตรงกันข้ามกับคำนี้
ว่า มุฏฺฐสฺสตี พระดำรัสว่า อสมฺปชานา นี้ จึงเป็นบทขยายสติเท่านั้น.
ส่วนปัญญาในที่นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้เพื่อแสดงถึงสติที่หย่อน
กำลัง. เพราะว่าสติมี ๒ อย่าง คือสติที่ประกอบด้วยปัญญา ๑ สติที่ไม่
ประกอบด้วยปัญญา ๑. ในสติทั้ง ๒ นั้น สติประกอบด้วยปัญญาย่อมมี
กำลัง สติที่ไม่ประกอบด้วยปัญญาย่อมหย่อนกำลัง. เพราะฉะนั้น พระผู้มี
พระภาคเจ้าจึงตรัสว่า อสมฺปชานา (ไม่มีปัญญา) เพื่อแสดงความหมาย
 
๑๗/๕๒/๒๙๒

ไม่มีความคิดเห็น: