ศาสตร์เป็นต้น ชื่อสนิฆัณฑุ. เกฏุภะ ได้แก่การกำหนดกิริยาอาการที่เป็น
ศาสตร์สำหรับใช้เป็นเครื่องมือของพวกกวี. ชื่อว่าพร้อมทั้งประเภทอักษร
เพราะพร้อมกับประเภทอักษร. คำว่า ประเภทอักษร ได้แก่ สิกขาและนิรุตติ.
คำว่า มีประวัติศาสตร์เป็นที่ห้า คือมีประวัติศาสตร์ ซึ่งได้แก่เรื่องเก่าแก่
ที่ประกอบด้วยคำเช่นนี้ว่า เป็นอย่างนี้ เล่ากันมาว่าเช่นนี้ เป็นที่ห้าแห่ง
พระเวทที่จัดอาถรรพณเวท เป็นที่สี่เหล่านั้น ฉะนั้น จึงชื่อว่า มีประวัติศาสตร์
เป็นที่ห้า. มีประวัติศาสตร์เป็นที่ห้าแห่งพระเวทเหล่านั้น. ชื่อว่าผู้เข้าใจบท
ฉลาดในไวยากรณ์ เพราะถือเอาหรือแสดงบทและไวยากรณ์ที่นอกเหนือจาก
บทนั้นได้อย่างแจ่มแจ้ง. วิตัณฑวาทศาสตร์ เรียกว่า โลกายตะ. คำว่า
ลักษณมหาบุรุษ ได้แก่ตำราประมาณ ๑๒,๐๐๐ เล่ม ที่แสดงลักษณะบุรุษ
ผู้ยิ่งใหญ่ มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น มีบทคาถาประมาณ ๑๖,๐๐๐ บท ที่มีชื่อว่า
พุทธ มนต์อาทิผิด อักขระ ซึ่งเป็นเหตุให้รู้ความแตกต่างอันนี้คือ ผู้ประกอบด้วยลักษณะ
เป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ด้วยลักษณะนี้ เป็นพระอัคร
สาวกทั้งสองด้วยลักษณะนี้ เป็นพระสาวกผู้ใหญ่ แปดสิบท่าน ด้วยลักษณะ
นี้ เป็นพระพุทธมารดา, เป็นพระพุทธบิดา, เป็นอัครอุปัฏฐาก, เป็นอัคร
อุปัฏฐายิกา, เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ด้วยลักษณะนี้. คำว่า เป็นผู้ชำนาญ
ได้แก่ ผู้ทำให้บริบูรณ์ ไม่หย่อนในคัมภีร์โลกายตะ และตำราทายลักษณะ
มหาบุรุษ อธิบายว่า ได้แก่เป็นผู้ไม่ขาดตกบกพร่อง. ผู้ที่ไม่สามารถจำทรง
ทั้งใจความ และคัมภีร์ได้ ชื่อว่า ผู้ขาดตกบกพร่อง. คำที่จะต้องกล่าวในบท
เป็นต้นว่า ได้ยินแล้วแล ก็ได้กล่าวเสร็จแล้วในสาเลยยกสูตร.
ศาสตร์สำหรับใช้เป็นเครื่องมือของพวกกวี. ชื่อว่าพร้อมทั้งประเภทอักษร
เพราะพร้อมกับประเภทอักษร. คำว่า ประเภทอักษร ได้แก่ สิกขาและนิรุตติ.
คำว่า มีประวัติศาสตร์เป็นที่ห้า คือมีประวัติศาสตร์ ซึ่งได้แก่เรื่องเก่าแก่
ที่ประกอบด้วยคำเช่นนี้ว่า เป็นอย่างนี้ เล่ากันมาว่าเช่นนี้ เป็นที่ห้าแห่ง
พระเวทที่จัด
เป็นที่ห้า. มีประวัติศาสตร์เป็นที่ห้าแห่งพระเวทเหล่านั้น. ชื่อว่าผู้เข้าใจบท
ฉลาดในไวยากรณ์ เพราะถือเอาหรือแสดงบทและไวยากรณ์ที่นอกเหนือจาก
บทนั้นได้อย่างแจ่มแจ้ง. วิตัณฑวาทศาสตร์ เรียกว่า โลกายตะ. คำว่า
ลักษณมหาบุรุษ ได้แก่ตำราประมาณ ๑๒,๐๐๐ เล่ม ที่แสดงลักษณะบุรุษ
ผู้ยิ่งใหญ่ มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น มีบทคาถาประมาณ ๑๖,๐๐๐ บท ที่มีชื่อว่า
เป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ด้วยลักษณะนี้ เป็นพระอัคร
สาวกทั้งสองด้วยลักษณะนี้ เป็นพระสาวกผู้ใหญ่ แปดสิบท่าน ด้วยลักษณะ
นี้ เป็นพระพุทธมารดา, เป็นพระพุทธบิดา, เป็นอัครอุปัฏฐาก, เป็นอัคร
อุปัฏฐายิกา, เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ด้วยลักษณะนี้. คำว่า เป็นผู้ชำนาญ
ได้แก่ ผู้ทำให้บริบูรณ์ ไม่หย่อนในคัมภีร์โลกายตะ และตำราทายลักษณะ
มหาบุรุษ อธิบายว่า ได้แก่เป็นผู้ไม่ขาดตกบกพร่อง. ผู้ที่ไม่สามารถจำทรง
ทั้งใจความ และคัมภีร์ได้ ชื่อว่า ผู้ขาดตกบกพร่อง. คำที่จะต้องกล่าวในบท
เป็นต้นว่า ได้ยินแล้วแล ก็ได้กล่าวเสร็จแล้วในสาเลยยกสูตร.
๒๑/๖๐๓/๒๔๙
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น