ในคำว่า น โข ปเนตํ ปฏิรูปํ เป็นต้น มีการพรรณนาโดยสังเขป
ดังต่อไปนี้
ได้ยินว่า ในป่าหิมพานต์ มีการประชุมเทวดา ทุก ๆ วันปักษ์, ใน
ป่าหิมพานต์นั้น พวกเทวดาย่อมถามถึงรุกขธรรมว่า ท่านตั้งอาทิผิด อักขระ อยู่ หรือไม่ได้ตั้ง
อยู่ในรุกขธรรม. ชื่อว่า รุกขธรรม ได้แก่ การที่รุกขเทวดาไม่ทำความ
ประทุษร้ายทางใจ ในเมื่อต้นไม้ถูกตัด. บรรดาเทวดาเหล่านั้น เทวดาองค์ใด
ไม่ตั้งอาทิผิด อักขระ อยู่ ในรุกขธรรม, เทวดาองค์นั้น ย่อมไม่ได้เพื่อจะเข้าสู่ที่ประชุม. เทวดา
องค์นั้น ได้มองเห็นโทษ มีการไม่ตั้งอยู่ในรุกขธรรมเป็นปัจจัยนี้ ด้วยประการ
ดังนี้ และระลึกถึงบุรพจรรยา ในปางที่พระตถาคตเจ้าเสวยพระชาติเป็น
พญาช้างฉัททันต์เป็นต้น โดยกระแสแห่งพระธรรมเทศนาที่ ตนอาทิผิด อักขระ เคยสดับมา
เฉพาะพระพักตร์แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า. เพราะเหตุนั้น เทวดานั้น จึงได้มี
ความรำพึง น โข ปเนตํ ปฏิรูปํ ฯเปฯ ชีวิตา โวราเปยฺยุํ (ก็การ
ที่เราจะปลงชีวิตภิกษุรูปนี้เสีย ณ ที่นี้ นั่นไม่สมควรเลย) ดังนี้. ก็ความรำพึง
นี้ว่า ถ้ากระไร เราควรกราบทูลเรื่องนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้ ได้มีแก่
เทวดานั้น ผู้ฉุกคิดอยู่อย่างนี้ว่า ภิกษุนี้เป็นบุตรมีบิดา, พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ทรงสดับอัชฌาจารนี้ของภิกษุนี้แล้ว จักทรงป้องกันมารยาท จักทรงบัญญัติ
สิกขาบทแน่นอน.
คำว่า สจชฺช ตฺวํ เทวเต มีความว่า ดูก่อนเทวดา ! ถ้าท่าน
(ปลงชีวิตภิกษุรูปนั้น) ในวันนี้ไซร้.
บทว่า ปสเวยฺยาสิ แปลว่า พึงให้เกิด คือ พึงให้บังเกิดขึ้น. ก็แล
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสอย่างนั้นแล้ว เมื่อจะให้เทวดานั้นยินยอม จึงได้
ตรัสพระคาถานี้ว่า
ดังต่อไปนี้
ได้ยินว่า ในป่าหิมพานต์ มีการประชุมเทวดา ทุก ๆ วันปักษ์, ใน
ป่าหิมพานต์นั้น พวกเทวดาย่อมถามถึงรุกขธรรมว่า ท่าน
อยู่ในรุกขธรรม. ชื่อว่า รุกขธรรม ได้แก่ การที่รุกขเทวดาไม่ทำความ
ประทุษร้ายทางใจ ในเมื่อต้นไม้ถูกตัด. บรรดาเทวดาเหล่านั้น เทวดาองค์ใด
ไม่
องค์นั้น ได้มองเห็นโทษ มีการไม่ตั้งอยู่ในรุกขธรรมเป็นปัจจัยนี้ ด้วยประการ
ดังนี้ และระลึกถึงบุรพจรรยา ในปางที่พระตถาคตเจ้าเสวยพระชาติเป็น
พญาช้างฉัททันต์เป็นต้น โดยกระแสแห่งพระธรรมเทศนา
เฉพาะพระพักตร์แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า. เพราะเหตุนั้น เทวดานั้น จึงได้มี
ความรำพึง น โข ปเนตํ ปฏิรูปํ ฯเปฯ ชีวิตา โวราเปยฺยุํ (ก็การ
ที่เราจะปลงชีวิตภิกษุรูปนี้เสีย ณ ที่นี้ นั่นไม่สมควรเลย) ดังนี้. ก็ความรำพึง
นี้ว่า ถ้ากระไร เราควรกราบทูลเรื่องนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้ ได้มีแก่
เทวดานั้น ผู้ฉุกคิดอยู่อย่างนี้ว่า ภิกษุนี้เป็นบุตรมีบิดา, พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ทรงสดับอัชฌาจารนี้ของภิกษุนี้แล้ว จักทรงป้องกันมารยาท จักทรงบัญญัติ
สิกขาบทแน่นอน.
คำว่า สจชฺช ตฺวํ เทวเต มีความว่า ดูก่อนเทวดา ! ถ้าท่าน
(ปลงชีวิตภิกษุรูปนั้น) ในวันนี้ไซร้.
บทว่า ปสเวยฺยาสิ แปลว่า พึงให้เกิด คือ พึงให้บังเกิดขึ้น. ก็แล
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสอย่างนั้นแล้ว เมื่อจะให้เทวดานั้นยินยอม จึงได้
ตรัสพระคาถานี้ว่า
๔/๓๕๗/๒๗๐
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น