[๒๘๐] กามคุณ ๕
๑. รูปที่จะพึงรู้แจ้งได้ด้วยจักษุ ซึ่งน่าปรารถนา น่าใคร น่าชอบ
ใจ น่ารัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด.
๒. เสียงที่จะพึงรู้แจ้งได้ด้วยหู.
๓. กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งได้ด้วยจมูก.
๔. รสที่พึงรู้แจ้งได้ด้วยลิ้น.อาทิผิด
๕. โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งได้ด้วยกาย ซึ่งน่าปรารถนา น่าใคร่
น่าชอบใจ น่ารัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด.
[๒๘๑] คติ ๕
๑. นิรยะ นรก
๒. ติรัจฉายโยนิ กำเนิดเดียรฉาน
๓. เปตติวิสัย ภูมิแห่งเปรต
๔. มนุสสะ มนุษย์
๕. เทวะ เทวดา.
[๒๘๒] มัจฉริยะ ๕
๑. อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ที่อยู่
๒. กุลมัจฉริยะ ตระหนี่สกุล
๓. ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ
๔. วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ
๕. ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม.
[๒๘๓] นิวรณ์ ๕
๑. กามฉันทะ ความพอใจ
๒. พยาบาท ความพยาบาท
๑. รูปที่จะพึงรู้แจ้งได้ด้วยจักษุ ซึ่งน่าปรารถนา น่าใคร น่าชอบ
ใจ น่ารัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด.
๒. เสียงที่จะพึงรู้แจ้งได้ด้วยหู.
๓. กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งได้ด้วยจมูก.
๕. โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งได้ด้วยกาย ซึ่งน่าปรารถนา น่าใคร่
น่าชอบใจ น่ารัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด.
[๒๘๑] คติ ๕
๑. นิรยะ นรก
๒. ติรัจฉายโยนิ กำเนิดเดียรฉาน
๓. เปตติวิสัย ภูมิแห่งเปรต
๔. มนุสสะ มนุษย์
๕. เทวะ เทวดา.
[๒๘๒] มัจฉริยะ ๕
๑. อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ที่อยู่
๒. กุลมัจฉริยะ ตระหนี่สกุล
๓. ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ
๔. วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ
๕. ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม.
[๒๘๓] นิวรณ์ ๕
๑. กามฉันทะ ความพอใจ
๒. พยาบาท ความพยาบาท
๑๖/๒๘๐/๒๐๐
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น