วันเสาร์, เมษายน 19, 2568

Chaba

 
ดูก่อนพราหมณ์ อนึ่ง ที่ขอบสระนั้นมีรุกขชาติ
หลายหลากขึ้นอยู่ คือ ไม้กระทุ่ม ไม้อาทิ ผิด อาณัติกะแคฝอย ไม้
ทองหลาง ผลิดอกบานสะพรั่ง ไม้อาทิผิด อาณัติกะปรู ไม้สัก ไม้อาทิผิด อาณัติกะ
ราชพฤกษ์ ดอกบานสะพรั่ง ไม้กากะทิง มีอยู่สองฟาก
สระมุจลินท์ ไม้ซึก ไม้อาทิผิด อาณัติกะแคขาว บัวบก ไม้คนทิสอ
ไม้ยางทรายขาว ไม้ประดู่ ดอกบานหอมฟุ้งที่ใกล้สระ
นั้น ต้นมะคำไก่ ต้นพิกุล ต้นแก้ว ต้นมะรุม
ต้นการเกด ต้นกรรณิการ์ ต้นชบาอาทิผิด สระ ต้นรกฟ้าขาว
ต้นรกฟ้าดำ ต้นสะท้อน และต้นทองกวาว ดอกบาน
ผลิดอกออกยอดพร้อม ๆ กัน ตั้งอยู่รุ่งเรืองแท้ ต้น
มะรื่น ต้นตีนเป็ด ต้นกล้วย ต้นคำฝอย ต้นนมแมว
ต้นคนทา ต้นประดู่ลายกับต้นกากะทิง มีดอกบาน
สะพรั่ง ต้นมะไฟ ต้นงิ้ว ต้นช้างน้าว ต้นพุดขาว
ต้นพุดซ้อน โกฐเขมา โกฐสอ มีดอกบานสะพรั่ง
พฤกษชาติทั้งหลายในสถานที่นั้น มีทั้งอ่อนทั้งแก่ ต้น
ไม่คด ดอกบาน ตั้งอยู่สองข้างอาศรม รอบเรือนไฟ.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ติฏฺฐนฺติ ความว่า ตั้งล้อมรอบสระ.
บทว่า กทมฺพา ได้แก่ ต้นกระทุ่ม. บทว่า กจฺจิการา จ ได้แก่ ต้นไม้ที่มี
ชื่ออย่างนั้น. บทว่า ปาริชญฺญา ได้แก่ มีดอกแดง. บทว่า วารณา วุยฺหนา
ได้แก่ ต้นนาคพฤกษ์. บทว่า มุจลินฺทมุภโต ได้แก่ ณ ข้างทั้งสองของ
สระมุจลินท์. บทว่า เสตปาริสา ได้แก่ รุกขชาติที่เป็นพุ่มขาว. ได้ยิน
ว่า ต้นแคขาวเหล่านั้นมีลำต้นขาว ใบใหญ่ มีดอกคล้ายดอกกรรณิการ์. บทว่า
 
๖๔/๑๒๖๙/๗๐๐

ไม่มีความคิดเห็น:

คลังบทความของบล็อก