วันอาทิตย์, เมษายน 06, 2568

Thamma Chak

 
อันเป็นความงอกงามแห่งวิมุติ ) ๕ สาราณิยธรรม ๖ อนุสสติ ๖ คารวะ ๖
นิสสรณียธาตุ ๖ สัตตวิหารธรรม (ธรรมเป็นเครื่องอยู่เนืองๆอาทิผิด อาณัติกะ) ๖ อนุตตริยะ ๖
นิพเพธภาคิสัญญา (สัญญาอันเป็นส่วนแทงตลอด) ๖ อภิญญา ๖ อสาธารณ-
ญาณ ๖ อปริหานิยธรรม ๗ อริยทรัพย์ ๗ โพชฌงค์ ๗ สัปปุริสธรรม ๗
นิททสวัตถุ ( เรื่องชี้แจง ) ๗ สัญญา ๗ ทักขิไณยบุคคลเทศนา ( การ
แสดงถึงทักขิไณยบุคคล) ๗ ขีณสวพลเทศนา ( การแสดงถึงกำลังของ
พระขีณาสพ ) ๗ ปัญญาปฏิลาภเหตุเทศนา ( การชี้แจงถึงเหตุได้ปัญญา ) ๘
สัมมัตตะ ๘ การก้าวล่วงโลกธรรม ๘ อารัมภวัตถุ (เรื่องปรารภ) ๘ อักขณ-
เทศนา (การแสดงแบบสายฟ้าแลบ) ๘ มหาปุริสวิตก ๘ อภิภายตนเทศนา
(การแสดงอายตนะของท่านผู้เป็นอภิภู) ๘ วิโมกข์ ๘ ธรรมเป็นมูลอาทิผิด สระแห่งโยนิ-
โสมนสิการ ๙ องค์แห่งธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเพียรอันบริสุทธิ์ ๙ สัตตาวาส
๙ อาฆาตปฏิวินัย (การกำจัดความอาฆาต) ๙ ปัญญา ๙ นานัตตเทศนา
(การแสดงความต่างกัน) ๙ อนุบุพพวิหารธรรม ๙ นาถกรณธรรม ๑๐
กสิณายตนะ ๑๐ กุสลกรรมบถ ๑๐ สัมมัตตะ ๑๐ อริยวาสะ ๑๐ อเสกข-
ธรรม ๑๐ รตนะ ๑๐ กำลังของพระตถาคต ๑๐ อานิสงส์เมตตา ๑๑ อาการ
ของธรรมจักรอาทิผิด อักขระ ๑๒ ธุดงคคุณ ๑๓ พุทธญาณ ๑๔ วิมุตติปริปาจนียธรรม ๑๕
อานาปานสติ ๑๖ อปรัมปริยธรรม (ธรรมที่ไม่เป็นปรัมปรา) ๑๖ พุทธธรรม
๑๘ ปัจจเวกขณญาณ ๑๙ ญาณวัตถุ ๔๔ อุทยัพพยญาณ ๕๐ กุสลธรรมเกิน ๕๐
ญาณวัตถุ ๗๗ มหาวชิรญาณอันเป็นจารีตร่วมกับสมาบัติ สองล้านสี่แสน
 
๗๔/๑/๑๖

ไม่มีความคิดเห็น:

คลังบทความของบล็อก