ถามว่า อนุสัยนั้น ชื่อว่า มีอรรถว่านอนเนื่อง อย่างไร ?
ตอบว่า ชื่ออย่างนั้น เพราะอรรถว่า ละไม่ได้.
จริงอยู่ กิเลสเหล่านี้ ชื่อว่า ย่อมนอนเนื่องในสันดาน
ของสัตว์ เพราะอรรถว่าละอาทิผิด ไม่ได้ ฉะนั้น อาจารย์ทั้งหลายจึงเจริญ
กิเลสเหล่านั้นว่า อนุสัย.
คำว่า “ อนุเสนฺติ ” แปลว่า ย่อมนอนเนื่อง อธิบายว่า ได้
เหตุอันสมควรแล้วจึงเกิดขึ้น อนึ่ง กิเลสที่มีอาการละไม่ได้ ชื่อว่า
อนุสยัฏฐะ อรรถว่านอนเนื่อง พึงมี ก็ไม่ควรจะกล่าวว่า กิเลสมี
อาการละไม่ได้นี้ ย่อมเกิดขึ้น เพราะฉะนั้นควรจะกล่าวว่า “ อนุสัย
ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น ” ดังนี้ คำว่า อนุสยา อุปฺปชฺชนฺติ นี้ ในที่
นี้เป็นคำรับรองว่า อนุสัย คือ กิเลสที่มีอาการอันละไม่ได้. ก็คำว่า
อนุสโย พระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมตรัสเรียกกิเลสที่มีกำลัง เพราะอรรถ
ว่าละไม่ได้.
บัณฑิตพึงทราบว่า อนุสัยนี้ เห็นจิตตสัมปยุต เป็นไปกับ
ด้วยอารมณ์ ( รู้อารมณ์ได้ ) เป็นสเหตุกะเพราะอรรถว่ามีปัจจัย
ปรุงแต่ง และเป็นอกุศลอย่างเดียว เป็นอดีตบ้าง เป็นอนาคต
บ้าง เป็นปัจจุบันบ้าง เพราะฉะนั้น จึงควรกล่าวว่า อนุสัยย่อม
เกิดขึ้น
ตอบว่า ชื่ออย่างนั้น เพราะอรรถว่า ละไม่ได้.
จริงอยู่ กิเลสเหล่านี้ ชื่อว่า ย่อมนอนเนื่องในสันดาน
ของสัตว์ เพราะอรรถว่า
กิเลสเหล่านั้นว่า อนุสัย.
คำว่า “ อนุเสนฺติ ” แปลว่า ย่อมนอนเนื่อง อธิบายว่า ได้
เหตุอันสมควรแล้วจึงเกิดขึ้น อนึ่ง กิเลสที่มีอาการละไม่ได้ ชื่อว่า
อนุสยัฏฐะ อรรถว่านอนเนื่อง พึงมี ก็ไม่ควรจะกล่าวว่า กิเลสมี
อาการละไม่ได้นี้ ย่อมเกิดขึ้น เพราะฉะนั้นควรจะกล่าวว่า “ อนุสัย
ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น ” ดังนี้ คำว่า อนุสยา อุปฺปชฺชนฺติ นี้ ในที่
นี้เป็นคำรับรองว่า อนุสัย คือ กิเลสที่มีอาการอันละไม่ได้. ก็คำว่า
อนุสโย พระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมตรัสเรียกกิเลสที่มีกำลัง เพราะอรรถ
ว่าละไม่ได้.
บัณฑิตพึงทราบว่า อนุสัยนี้ เห็นจิตตสัมปยุต เป็นไปกับ
ด้วยอารมณ์ ( รู้อารมณ์ได้ ) เป็นสเหตุกะเพราะอรรถว่ามีปัจจัย
ปรุงแต่ง และเป็นอกุศลอย่างเดียว เป็นอดีตบ้าง เป็นอนาคต
บ้าง เป็นปัจจุบันบ้าง เพราะฉะนั้น จึงควรกล่าวว่า อนุสัยย่อม
เกิดขึ้น
๘๓/๑๕๘๑/๗๕๓
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น