วันอังคาร, เมษายน 01, 2568

Patisonthi

 
ที่เห็นปานนี้ไม่มี. บทว่า พฬิสมํสิกํ ได้แก่ ตีด้วยเบ็ดมีขอทั้งสองข้างแล้ว
กระชากหนัง เนื้อและเอ็น. บทว่า กหาปณกํ ได้แก่ ควักสรีระทั้งสิ้นให้
ตกออกไปทีละประมาณกหาปณะ ตั้งแต่สะเอวด้วยมีดคมกริบทุบตี. บทว่า
ขาราปฏิจฺฉกํ ได้แก่ ตีสรีระในที่นั้น ๆ ด้วยอาวุธทั้งหลาย ราดอาทิผิด อักขระน้ำด่าง
ขัดด้วยแปรง หนังอาทิผิด เนื้อ และเอ็น ก็ไหลออก คงเหลือแต่โครงกระดูกเท่านั้น.
บทว่า ปลิฆปริวตฺตกํ ได้แก่ ให้นอนข้างเดียวแล้ว ตอกหลาวเหล็กแหลม
ในช่องหูทำให้ติดกับดิน ลำดับนั้น จึงจับเท้าของเขาแล้ววนเวียน. บทว่า
ปลาลปีฐกํ ได้แก่ ผู้ทำกรรมกรณ์ที่ฉลาด แล่ผิวหนังออกทุบกระดูกทั้งหลาย
ด้วยลูกหินบดแล้ว จับผมทั้งหลายยกขึ้น คงมีแต่กองเนื้อเท่านั้น ลำดับนั้น
ก็รวบผมของเขาเท่านั้น จับบิดอาทิผิด สระทำเหมือนเกลียวฟาง. บทว่า สุนเขหิ ได้แก่
ยังสุนัขทั้งหลายที่หิวจัดเพราะไม่ให้อาหาร ๒-๓ วัน ให้พึงกัดกิน สุนัขเหล่านั้น
ก็ทำให้เหลือโครงกระดูกครู่เดียวเท่านั้น. บทว่า สมฺปรายิโก ความว่า เป็น
วิบากในสัมปรายภพในอัตตภาพที่สอง.
การกำจัดฉันทราคะ การละฉันทราคะ คือนิพพาน. จริงอยู่ ฉันทราคะ
ในกามทั้งหลายย่อมถูกกำจัดและถูกละได้ เพราะอาศัยนิพพาน เพราะฉะนั้น
ท่านจึงกล่าวว่า การกำจัดฉันทราคะ การละฉันทราคะ คือ นิพพาน. บทว่า
สามํ วา กาเม ปริชานิสฺสนฺติ ความว่า พวกนั้นน่ะหรือ จักรอบรู้กาม
ทั้งหลายด้วยตนเอง ด้วยปริญญา ๓. บทว่า ตถตฺตาย ได้แก่ เพื่อความเป็น
อย่างที่ผู้ปฏิอาทิผิด อักขระบัติ. บทว่า ยถาปฏิปนฺโน ความว่า ปฏิบัติแล้วด้วยปฏิปทาใด.
บทว่า ขตฺติยกญฺญา วา เป็นต้น ตรัสแล้วเพื่อทรงแสดงสตรีที่เกิดแล้วใน
ฐานะที่ได้วัตถุทั้งหลายมีผ้าและเครื่องประดับเป็นต้น ซึ่งมีปฏิอาทิผิด อักขระสนธิอันกุศล
ไม่น้อย คือ ไพบูลย์ให้รับแล้ว. บทว่า ปณฺณรสวสฺสุทฺเทสิกา คือ มีวัย
๑๕ ปี. แม้ในบทที่สองก็มีนัยเช่นเดียวกัน. ถามว่า ทำไมจึงทรงถือระยะวัย.
 
๑๘/๒๐๘/๑๓๓

ไม่มีความคิดเห็น:

คลังบทความของบล็อก