เพราะกิเลส และด้วยความเร่าร้อนทางกาย. บทว่า กายสฺส เภทา ได้แก่
ทิ้งอาทิผิด ขันธ์ อันมีวิญญาณ (ตาย). บทว่า ปรมฺมรณา ได้แก่ ในการยึดขันธ์
อันเกิดแล้วในระหว่างนั้น. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า กายสฺส เภทา ได้แก่
เพราะขาดชีวิตินทรีย์. บทว่า ปรมฺมรณา ได้แก่หลังจากจุติ. บทว่า ทุคฺคติ
ปาฏิกํขา ได้แก่ พึงปรารถนาคติอย่างใดอย่างหนึ่ง ของอบาย ๔ อันได้แก่
ทุคติ. อธิบายว่า มีส่วนแน่นอน.
บทว่า อคุตฺตทฺวาโร ได้แก่ ไม่สำรวมทวาร. แต่ในบางแห่ง
อาจารย์กล่าวว่า บทว่า อคุตฺตทฺวาโร ได้แก่ ในอินทรีย์ทั้งหลาย. อาจารย์
กล่าวถึงความไม่สำรวมอินทรีย์ อันมีใจเป็นที่ ๖ ด้วยบทนั้น. ชื่อว่า ไม่รู้
ประมาณในโภชนะ เพราะไม่รู้ประมาณในโภชนะด้วยการรับและการบริโภค.
เกจิอาจารย์กล่าวว่า เพราะความเป็นผู้ไม่คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย
เพราะความเป็นผู้ไม่รู้จักประมาณในโภชนะบ้าง.
ถามว่า ความเป็นผู้ไม่คุ้มครองทวารในอินทรีย์อาทิผิด สระ ทั้งหลายเป็นอย่างไร
หรือความเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายเป็นอย่างไร. ตอบว่า เพราะ
ไม่มีความสำรวม หรือความไม่สำรวมในจักขุนทรีย์โดยแท้. ด้วยว่าสติก็ดี
ความไร้สติก็ดี หาได้เกิดขึ้นเพราะอาศัยจักขุประสาทไม่. อันที่อาทิผิด อาณัติกะ จริง ขณะใด
รูปารมณ์มาสู่ครองจักษุ ขณะนั้น เมื่อภวังค์เกิดขึ้น ๒ ครั้งแล้วดับไป กิริยา-
มโนธาตุยังอาวัชชนกิจให้สำเร็จ เกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป จากนั้นจักขุวิญญาณ
ทำหน้าที่เห็น จากนั้นวิปากมโนธาตุ ทำหน้าที่รับ จากนั้นวิปากาเหตุกมโน-
วิญญาณธาตุ ทำหน้าที่พิจารณา จากนั้นกิริยาเหตุกมโนวิญญาณธาตุ ยัง
โวฏฐัพพนกิจ (กำหนดอารมณ์) ให้สำเร็จ เกิดแล้วย่อมดับไป ในระหว่างนั้น
ชวนจิต ย่อมแล่นไป. ในชวนะนั้น ความสำรวมก็ดี ความไม่สำรวมก็ดี
ย่อมมีในสมัยแห่งภวังค์ก็หามิได้ ในสมัยแห่งอาวัชชนะเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง
อันเกิดแล้วในระหว่างนั้น. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า กายสฺส เภทา ได้แก่
เพราะขาดชีวิตินทรีย์. บทว่า ปรมฺมรณา ได้แก่หลังจากจุติ. บทว่า ทุคฺคติ
ปาฏิกํขา ได้แก่ พึงปรารถนาคติอย่างใดอย่างหนึ่ง ของอบาย ๔ อันได้แก่
ทุคติ. อธิบายว่า มีส่วนแน่นอน.
บทว่า อคุตฺตทฺวาโร ได้แก่ ไม่สำรวมทวาร. แต่ในบางแห่ง
อาจารย์กล่าวว่า บทว่า อคุตฺตทฺวาโร ได้แก่ ในอินทรีย์ทั้งหลาย. อาจารย์
กล่าวถึงความไม่สำรวมอินทรีย์ อันมีใจเป็นที่ ๖ ด้วยบทนั้น. ชื่อว่า ไม่รู้
ประมาณในโภชนะ เพราะไม่รู้ประมาณในโภชนะด้วยการรับและการบริโภค.
เกจิอาจารย์กล่าวว่า เพราะความเป็นผู้ไม่คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย
เพราะความเป็นผู้ไม่รู้จักประมาณในโภชนะบ้าง.
ถามว่า ความเป็นผู้ไม่คุ้มครองทวารใน
หรือความเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายเป็นอย่างไร. ตอบว่า เพราะ
ไม่มีความสำรวม หรือความไม่สำรวมในจักขุนทรีย์โดยแท้. ด้วยว่าสติก็ดี
ความไร้สติก็ดี หาได้เกิดขึ้นเพราะอาศัยจักขุประสาทไม่. อัน
รูปารมณ์มาสู่ครองจักษุ ขณะนั้น เมื่อภวังค์เกิดขึ้น ๒ ครั้งแล้วดับไป กิริยา-
มโนธาตุยังอาวัชชนกิจให้สำเร็จ เกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป จากนั้นจักขุวิญญาณ
ทำหน้าที่เห็น จากนั้นวิปากมโนธาตุ ทำหน้าที่รับ จากนั้นวิปากาเหตุกมโน-
วิญญาณธาตุ ทำหน้าที่พิจารณา จากนั้นกิริยาเหตุกมโนวิญญาณธาตุ ยัง
โวฏฐัพพนกิจ (กำหนดอารมณ์) ให้สำเร็จ เกิดแล้วย่อมดับไป ในระหว่างนั้น
ชวนจิต ย่อมแล่นไป. ในชวนะนั้น ความสำรวมก็ดี ความไม่สำรวมก็ดี
ย่อมมีในสมัยแห่งภวังค์ก็หามิได้ ในสมัยแห่งอาวัชชนะเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง
๔๕/๒๐๖/๑๘๖
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น