จักษุสมบัติที่เป็นอนาคตธรรม ฯลฯ วรรณสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพ-
สมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
ปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่
ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๙๒๙] ๓. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนอาทิผิด อักขระ ธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุที่เป็นปัจจุปปันนธรรมแล้ว ยังฌานให้เกิดขึ้น
ยังวิปัสสนา ฯลฯ
บุคคลเข้าไปอาศัยโภชนะที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ยังฌานให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
อุตุที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๙๓๐] ๑. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนอาทิผิด อักขระ ธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
สมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
ปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่
ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๙๒๙] ๓. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุที่เป็นปัจจุปปันนธรรมแล้ว ยังฌานให้เกิดขึ้น
ยังวิปัสสนา ฯลฯ
บุคคลเข้าไปอาศัยโภชนะที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ยังฌานให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
อุตุที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๙๓๐] ๑. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
๘๗/๑๙๓๐/๖๐๓
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น