เหมือนกระจก อันเขาใส่ไว้ในถุงเก็บไว้ในหีบเป็นต้น ย่อมใสแจ๋วอยู่
ภายในเท่านั้นฉันใด เมื่อภิกษุเข้านิโรธแล้ว ประสาท ๕ ย่อมรุ่งเรือง
ยิ่งนักในภายในนิโรธฉันนั้น. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า อินฺทฺริยานิ
วิปฺปสนฺนานิ อินทรีย์ผ่องใส.
ท่านกล่าวถึงเวลาอยู่ภายในนิโรธ ด้วยสองบทว่า วุฏฺฐหิสฺสนฺติ
วา วุฏฐหามิ วา ท่านกล่าวถึงเวลาผลสมาบัติเกิด ด้วยบทว่า วุฏฺฐิโต.
ท่านกล่าวถึงเวลาไม่มีจิตด้วยสองบทก่อนนั้น. ด้วยบทหลังท่านกล่าวถึงเวลา
มีจิต. บทว่า ปุพฺเพ จ ตถา จิตฺตํ โหติ ความว่าท่านได้อบรมจิต
อันกำหนดเวลาได้ว่า เราเป็นผู้ไม่มีจิต จักอยู่ได้ตลอดเวลาประมาณเท่านี้
ต่อแต่นั้น จักเป็นผู้มีจิต ในเวลาก่อนแต่จะออกจากนิโรธสมาบัติ ก็กำหนด
เวลาได้. บทว่า ยนฺตํ ตถตฺตาย อุปเนติ ความว่า จิตที่ท่านอบรม
อย่างนี้แล้ว ย่อมนำบุคคลนั้นเข้าไปเพื่อความเป็นอย่างนั้น คือความเป็น
ผู้มีจิต. ท่านกล่าวเวลาเข้านิโรธไว้ในหนหลังแล้วด้วยประการฉะนี้. ใน
ที่นี้ ท่านกล่าวเวลาออกจากนิโรธ.
บัดนี้ ท่านพึงกล่าวนิโรธกถาว่าวาทะ เพื่อจะกล่าวนิโรธกถา. ก็
นิโรธกถานี้นั้น ท่านตั้งเป็นหัวข้อว่า ปัญญาที่อบรมจนชำนาญ ด้วยการ
สงบระงับอาทิผิด สระ สังขาร ๓ เพราะประกอบด้วยพละ ๒ ด้วยความประพฤติใน
ญาณ ( ญาณจริยา ) ๑๖ ด้วยความประพฤติในสมาธิ ( สมาธิจริยา ) ๙
เป็นญาณในนิโรธสมาบัติ ซึ่งกล่าวไว้ในวิสุทธิมรรค โดยอาการทั้งปวง
แล้ว เพราะฉะนั้น ผู้ศึกษาพึงถือเอาโดยนัยอันกล่าวแล้วในวิสุทธิมรรค
นั้นนั่นแล.
ภายในเท่านั้นฉันใด เมื่อภิกษุเข้านิโรธแล้ว ประสาท ๕ ย่อมรุ่งเรือง
ยิ่งนักในภายในนิโรธฉันนั้น. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า อินฺทฺริยานิ
วิปฺปสนฺนานิ อินทรีย์ผ่องใส.
ท่านกล่าวถึงเวลาอยู่ภายในนิโรธ ด้วยสองบทว่า วุฏฺฐหิสฺสนฺติ
วา วุฏฐหามิ วา ท่านกล่าวถึงเวลาผลสมาบัติเกิด ด้วยบทว่า วุฏฺฐิโต.
ท่านกล่าวถึงเวลาไม่มีจิตด้วยสองบทก่อนนั้น. ด้วยบทหลังท่านกล่าวถึงเวลา
มีจิต. บทว่า ปุพฺเพ จ ตถา จิตฺตํ โหติ ความว่าท่านได้อบรมจิต
อันกำหนดเวลาได้ว่า เราเป็นผู้ไม่มีจิต จักอยู่ได้ตลอดเวลาประมาณเท่านี้
ต่อแต่นั้น จักเป็นผู้มีจิต ในเวลาก่อนแต่จะออกจากนิโรธสมาบัติ ก็กำหนด
เวลาได้. บทว่า ยนฺตํ ตถตฺตาย อุปเนติ ความว่า จิตที่ท่านอบรม
อย่างนี้แล้ว ย่อมนำบุคคลนั้นเข้าไปเพื่อความเป็นอย่างนั้น คือความเป็น
ผู้มีจิต. ท่านกล่าวเวลาเข้านิโรธไว้ในหนหลังแล้วด้วยประการฉะนี้. ใน
ที่นี้ ท่านกล่าวเวลาออกจากนิโรธ.
บัดนี้ ท่านพึงกล่าวนิโรธกถาว่าวาทะ เพื่อจะกล่าวนิโรธกถา. ก็
นิโรธกถานี้นั้น ท่านตั้งเป็นหัวข้อว่า ปัญญาที่อบรมจนชำนาญ ด้วยการ
สงบ
ญาณ ( ญาณจริยา ) ๑๖ ด้วยความประพฤติในสมาธิ ( สมาธิจริยา ) ๙
เป็นญาณในนิโรธสมาบัติ ซึ่งกล่าวไว้ในวิสุทธิมรรค โดยอาการทั้งปวง
แล้ว เพราะฉะนั้น ผู้ศึกษาพึงถือเอาโดยนัยอันกล่าวแล้วในวิสุทธิมรรค
นั้นนั่นแล.
๒๙/๕๗๐/๑๕๕
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น