บริบูรณ์แล้ว ด้วยนางแก้ว และแก้วมณี. พระเจ้าจักรพรรดิทรงเสวย
ความสุขอันเกิดจากโภคสมบัติ ด้วยนางแก้ว และแก้วมณี ทรงเสวย
ความสุขอันเกิดจากความเป็นใหญ่ด้วยรัตนะทั้งหลายที่เหลือ. อนึ่ง พึง
ทราบโดยแปลกออกไปอีก ดังนี้ รัตนะ ๓ อันแรก สำเร็จได้ด้วยอานุภาพ
แห่งกรรมที่กุศลมูล คือความไม่ประทุษร้ายให้เกิดขึ้น รัตนะท่ามกลาง
สำเร็จได้ด้วยอานุภาพแห่งกรรมที่กุศลมูล คือความไม่โลภให้เกิดขึ้น รัตนะ
อันหนึ่งสุดท้าย สำเร็จได้ด้วยอานุภาพแห่งกรรม อันกุศลมูลคือความ
ไม่หลงให้เกิดขึ้น. ในที่นี้กล่าวเป็นเพียงสังเขปเท่านั้น. ส่วนความพิสดาร
พึงถือเอาจากอุปเทศแห่งรัตนสูตร ในโพชฌงคสังยุต.
บทว่า มีจำนวน ๑,๐๐๐ เป็นเบื้องหน้า คือเกินกว่า ๑,๐๐๐. บทว่า
ผู้กล้าหาญ คือผู้ไม่หวั่นเกรงใคร. บทว่า มีรูปร่างองอาจ คือมีร่างกาย
เช่นกับเทวบุตร. อาจารย์บางพวกพรรณนาไว้ดังนี้ก่อน. แต่ในที่นี้มีสภาวะ
ดังต่อไปนี้. ผู้ที่กล้าหาญที่สุด ท่านเรียกว่า วีระ. องค์ของผู้กล้าหาญชื่อ
วีรังคะ คือเหตุแห่งความกล้าหาญ. อธิบายว่า ความเป็นผู้แกล้วกล้า.
รูปร่างอันองอาจของ คนอาทิผิด อักขระ เหล่านั้นมีอยู่ เพราะเหตุนั้น ชนเหล่านั้นชื่อว่า
มีรูปร่างองอาจ. อธิบายว่า ประหนึ่งว่า มีสรีระร่างอันหล่อหลอมด้วย
ความแกล้วกล้าอาทิผิด .
บทว่า ย่ำยีเสียได้ซึ่งทหารของข้าศึก มีอธิบายว่า ถ้าเหล่าทหาร
ของข้าศึก พึงยืนเผชิญหน้ากัน เขาก็สามารถที่จะย่ำยีเสียได้ซึ่งข้าศึกนั้น.
บทว่า โดยธรรม คือโดยธรรม คือศีล ๕ ที่มีว่า ไม่ควรฆ่าสัตว์เป็นต้น.
ในบทนี้ว่า เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า มีหลังคาคือ
กิเลสอาทิผิด สระ อันเปิดแล้วในโลก มีใจความว่า เมื่อความมืดคือกิเลสปกคลุมอยู่
ความสุขอันเกิดจากโภคสมบัติ ด้วยนางแก้ว และแก้วมณี ทรงเสวย
ความสุขอันเกิดจากความเป็นใหญ่ด้วยรัตนะทั้งหลายที่เหลือ. อนึ่ง พึง
ทราบโดยแปลกออกไปอีก ดังนี้ รัตนะ ๓ อันแรก สำเร็จได้ด้วยอานุภาพ
แห่งกรรมที่กุศลมูล คือความไม่ประทุษร้ายให้เกิดขึ้น รัตนะท่ามกลาง
สำเร็จได้ด้วยอานุภาพแห่งกรรมที่กุศลมูล คือความไม่โลภให้เกิดขึ้น รัตนะ
อันหนึ่งสุดท้าย สำเร็จได้ด้วยอานุภาพแห่งกรรม อันกุศลมูลคือความ
ไม่หลงให้เกิดขึ้น. ในที่นี้กล่าวเป็นเพียงสังเขปเท่านั้น. ส่วนความพิสดาร
พึงถือเอาจากอุปเทศแห่งรัตนสูตร ในโพชฌงคสังยุต.
บทว่า มีจำนวน ๑,๐๐๐ เป็นเบื้องหน้า คือเกินกว่า ๑,๐๐๐. บทว่า
ผู้กล้าหาญ คือผู้ไม่หวั่นเกรงใคร. บทว่า มีรูปร่างองอาจ คือมีร่างกาย
เช่นกับเทวบุตร. อาจารย์บางพวกพรรณนาไว้ดังนี้ก่อน. แต่ในที่นี้มีสภาวะ
ดังต่อไปนี้. ผู้ที่กล้าหาญที่สุด ท่านเรียกว่า วีระ. องค์ของผู้กล้าหาญชื่อ
วีรังคะ คือเหตุแห่งความกล้าหาญ. อธิบายว่า ความเป็นผู้แกล้วกล้า.
รูปร่างอันองอาจ
มีรูปร่างองอาจ. อธิบายว่า ประหนึ่งว่า มีสรีระร่างอันหล่อหลอมด้วย
ความ
บทว่า ย่ำยีเสียได้ซึ่งทหารของข้าศึก มีอธิบายว่า ถ้าเหล่าทหาร
ของข้าศึก พึงยืนเผชิญหน้ากัน เขาก็สามารถที่จะย่ำยีเสียได้ซึ่งข้าศึกนั้น.
บทว่า โดยธรรม คือโดยธรรม คือศีล ๕ ที่มีว่า ไม่ควรฆ่าสัตว์เป็นต้น.
ในบทนี้ว่า เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า มีหลังคาคือ
๑๑/๑๗๗/๕๔๓
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น