บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อจฺจนฺตํ ความว่า ผู้ ใดอาทิผิด อักขระ รู้แจ้งการงาน
นี้ว่า แม้ทำความเพียรก็ไม่อาจให้สำเร็จได้ ไม่ลุล่วงไปได้จริง ๆ ทีเดียว ดังนี้
ไม่นำช้างดุร้ายและช้างตกมันเป็นต้นออกไปเสีย ชื่อว่าไม่รักษาชีวิตของตน.
บทว่า ชญฺญา โส ยทิ หาปเย ความว่า ถ้าผู้นั้น ละความเพียรในฐานะ
เช่นนั้นเสีย ก็จะพึงรู้ผลแห่งความเกียจคร้านนั้น คำที่ท่านกล่าวนั้น ๆ
ไร้ประโยชน์ พระมหาสัตว์ทรงชี้แจงดังนี้ ก็บทที่เขียนไว้ในบาลีว่า ชญฺญา
โส ยทิ หาปเย นั้น ไม่มีในอรรถกถา. บทว่า อธิปฺปายผลํ ความว่า
คนบางพวกเห็นผลแห่งความประสงค์ของตน ประกอบการงานมีกสิกรรมและ
พาณิชกรรมเป็นต้น . บทว่า ตานิ อิชฺฌนฺติ วา น วา ความว่า พระมหาสัตว์
แสดงความว่า เมื่อบุคคลกระทำความเพียรทางกายและความเพียรทางใจว่า
เราจักไปในที่นี้ จักเรียนสิ่งนี้ การงานเหล่านั้น ย่อมสำเร็จทีเดียว เพราะฉะนั้น
จึงควรทำความเพียรแท้. บทว่า สนฺนา อญฺเญ ตรามหํ ความว่า คนอื่น ๆ
จม คือ จมลงในมหาสมุทร คือเมื่อไม่ทำความเพียร ก็เป็นภักษาแห่งปลาและ
เต่ากันหมด แต่เราคนเดียวเท่านั้นยังว่ายข้ามอยู่. บทว่า ตญฺจ ปสฺสามิ
สนฺติเก ความว่า ท่านจงดูผลแห่งความเพียรของเราแม้นี้ เราไม่เคยเห็น
เทวดาโดยอัตภาพนี้เลย เรานั้นก็ได้เห็นท่านมาสถิตอยู่ใกล้ ๆ เรา โดยอัตภาพ
ทิพย์นี้. บทว่ายถาสติอาทิผิด สระ ยถาพลํ ความว่า สมควรแก่สติและอาทิผิด อักขระ กำลังของตน
บทว่า กาสํ แปลว่า จักกระทำ.
เทวดาได้สดับพระวาจาอันมั่นคงของพระมหาสัตว์นั้น เมื่อจะสรรเสริญ
มหาสัตว์ จึงกล่าวคาถาว่า
ท่านใดถึงพร้อมด้วยความพยายามโดยธรรม ไม่
จมลงในห้วงมหรรณพ ซึ่งประมาณมิอาทิผิด อักขระ ได้ เห็นปานนี้
ด้วยกิจคือความเพียรของบุรุษ ท่านนั้นจงไปในสถานที่
ที่ใจของท่านยินดีนั้นเถิด.
นี้ว่า แม้ทำความเพียรก็ไม่อาจให้สำเร็จได้ ไม่ลุล่วงไปได้จริง ๆ ทีเดียว ดังนี้
ไม่นำช้างดุร้ายและช้างตกมันเป็นต้นออกไปเสีย ชื่อว่าไม่รักษาชีวิตของตน.
บทว่า ชญฺญา โส ยทิ หาปเย ความว่า ถ้าผู้นั้น ละความเพียรในฐานะ
เช่นนั้นเสีย ก็จะพึงรู้ผลแห่งความเกียจคร้านนั้น คำที่ท่านกล่าวนั้น ๆ
ไร้ประโยชน์ พระมหาสัตว์ทรงชี้แจงดังนี้ ก็บทที่เขียนไว้ในบาลีว่า ชญฺญา
โส ยทิ หาปเย นั้น ไม่มีในอรรถกถา. บทว่า อธิปฺปายผลํ ความว่า
คนบางพวกเห็นผลแห่งความประสงค์ของตน ประกอบการงานมีกสิกรรมและ
พาณิชกรรมเป็นต้น . บทว่า ตานิ อิชฺฌนฺติ วา น วา ความว่า พระมหาสัตว์
แสดงความว่า เมื่อบุคคลกระทำความเพียรทางกายและความเพียรทางใจว่า
เราจักไปในที่นี้ จักเรียนสิ่งนี้ การงานเหล่านั้น ย่อมสำเร็จทีเดียว เพราะฉะนั้น
จึงควรทำความเพียรแท้. บทว่า สนฺนา อญฺเญ ตรามหํ ความว่า คนอื่น ๆ
จม คือ จมลงในมหาสมุทร คือเมื่อไม่ทำความเพียร ก็เป็นภักษาแห่งปลาและ
เต่ากันหมด แต่เราคนเดียวเท่านั้นยังว่ายข้ามอยู่. บทว่า ตญฺจ ปสฺสามิ
สนฺติเก ความว่า ท่านจงดูผลแห่งความเพียรของเราแม้นี้ เราไม่เคยเห็น
เทวดาโดยอัตภาพนี้เลย เรานั้นก็ได้เห็นท่านมาสถิตอยู่ใกล้ ๆ เรา โดยอัตภาพ
ทิพย์นี้. บทว่า
บทว่า กาสํ แปลว่า จักกระทำ.
เทวดาได้สดับพระวาจาอันมั่นคงของพระมหาสัตว์นั้น เมื่อจะสรรเสริญ
มหาสัตว์ จึงกล่าวคาถาว่า
ท่านใดถึงพร้อมด้วยความพยายามโดยธรรม ไม่
จมลงในห้วงมหรรณพ ซึ่งประมาณ
ด้วยกิจคือความเพียรของบุรุษ ท่านนั้นจงไปในสถานที่
ที่ใจของท่านยินดีนั้นเถิด.
๖๓/๔๘๑/๑๐๓
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น