มิคราชา ถูกจับขังไว้ แม้ในกรงทองก็ไม่ยินดี, แต่ย่อมยินดีใน
หิมวันตประเทศอันกว้างใหญ่ถึง ๓,๐๐๐ โยชน์ ฉันใด, สีหะคือพระ-
โยคีบุคคลแม้นี้ ย่อมไม่ยินดีแม้ในสุคติภพทั้ง ๓ แต่ย่อมยินดีในอนุ-
ปัสสนา ๓ เท่านั้น
อนึ่ง เหมือนพญาช้างฉัททันต์ เผือกผ่องทั้งตัวมีที่ตั้งดี ๗ สถาน
มีฤทธิ เหาะไปในเวหาส ย่อมไม่ยินดีในใจกลางพระนคร, แต่ย่อม
ยินดีในสระใหญ่ชื่อฉัททันต์เท่านั้น ฉันใด, พระโยคีบุคคลเพียงดัง
ช้างตัวประเสริฐนี้ ย่อมไม่ยินดีในสังขารธรรมแม้ทั้งปวง, แต่ย่อมยินดี
ในสันติบทคือพระนิพพานเท่านั้นอัน ท่านอาทิผิด สระ แสดงแล้วโดยนัยเป็นต้นว่า
การไม่เกิดขึ้น เป็นการปลอดภัย๑, มีใจน้อมอาทิผิด อักขระ ไป โน้มไปเงื้อมไปใน
สันติบทคือพระนิพพานนั้น. นิพพิทานุปัสสนาญาณย่อมเป็นอันเกิดขึ้น
แล้วแก่พระโยคีนั้น ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ด้วยประการฉะนี้.
๙. อรรถกถาสังขารุเปกขาญาณุทเทส
ว่าด้วย สังขารุเปกขาณาณ
คำว่า มุญฺจิตุกมฺยตาปฏิสงฺขาสนฺติฏฺฐนา ปญฺญา สงฺขารุ-
เปกฺขาสุ ญาณํ ความว่า พระโยคีบุคคลใด มีความประสงค์คือ
๑. ขุ.ป. ๓๑/๑๑๕.
หิมวันตประเทศอันกว้างใหญ่ถึง ๓,๐๐๐ โยชน์ ฉันใด, สีหะคือพระ-
โยคีบุคคลแม้นี้ ย่อมไม่ยินดีแม้ในสุคติภพทั้ง ๓ แต่ย่อมยินดีในอนุ-
ปัสสนา ๓ เท่านั้น
อนึ่ง เหมือนพญาช้างฉัททันต์ เผือกผ่องทั้งตัวมีที่ตั้งดี ๗ สถาน
มีฤทธิ เหาะไปในเวหาส ย่อมไม่ยินดีในใจกลางพระนคร, แต่ย่อม
ยินดีในสระใหญ่ชื่อฉัททันต์เท่านั้น ฉันใด, พระโยคีบุคคลเพียงดัง
ช้างตัวประเสริฐนี้ ย่อมไม่ยินดีในสังขารธรรมแม้ทั้งปวง, แต่ย่อมยินดี
ในสันติบทคือพระนิพพานเท่านั้น
การไม่เกิดขึ้น เป็นการปลอดภัย๑, มีใจ
สันติบทคือพระนิพพานนั้น. นิพพิทานุปัสสนาญาณย่อมเป็นอันเกิดขึ้น
แล้วแก่พระโยคีนั้น ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ด้วยประการฉะนี้.
๙. อรรถกถาสังขารุเปกขาญาณุทเทส
ว่าด้วย สังขารุเปกขาณาณ
คำว่า มุญฺจิตุกมฺยตาปฏิสงฺขาสนฺติฏฺฐนา ปญฺญา สงฺขารุ-
เปกฺขาสุ ญาณํ ความว่า พระโยคีบุคคลใด มีความประสงค์คือ
๑. ขุ.ป. ๓๑/๑๑๕.
๖๘/๐/๖๐
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น