หน้าต่างแลดูในเวลากลางวัน ความหวั่นไหวแห่งนัยน์ตา ยังไม่สงบตราบใด
นี้ก็ชื่อว่า รูปสันตติ วาระแห่งชวนะ ๒-๓ ชื่อว่า อรูปสันตติ (ความสืบต่อ
แห่งนาม) แล้วกล่าวว่า สันตติแม้ทั้งสองนี้ ชื่อว่า ปัจจุบัน.
ส่วนปัจจุบันที่กำหนดด้วยภพหนึ่ง ชื่อว่า อัทธาปัจจุบัน ในภัตเทก-
รัตตสูตร๑ ท่านพระมหากัจจายนเถระหมายเอาอัทธาปัจจุบันที่พระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าตรัสไว้ว่า โย จาวุโส มโน เย จ ธมฺมา สมฺปยุตฺตา อุภยํ
เมตํ ปจฺจุปฺปนฺนํ ตสฺมึ ปจฺจุปฺปนฺเนฯเปฯอาทิผิด ธมฺเมสุ สํหิรติ (ดู
ก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ถ้าบุคคลมีความรู้สึก๒ มีวิญญาณ) เนื่องด้วยฉันทรา-
คะในมโนและธรรมที่สัมปยุตกันทั้ง ๒ อย่าง ที่เป็นปัจจุบันนั้น เพราะความ
รู้สึกเนื่องด้วยฉันทราคะ บุคคลจึงเพลิดเพลินมโนและธรรมนั้น เมื่อเพลิด
เพลินจึงชื่อว่า ง่อนแง่นในธรรมที่เป็นปัจจุบัน ดังนี้.
ก็ในปัจจุบันที่เป็นสันตติและอัทธาเหล่านี้ สันตติปัจจุบันมาในอรรถ-
กถาทั้งหลาย. อัทธาปัจจุบันแล้วในพระสูตร ในขณปัจจุบันเป็นต้นนั้น เกจิ-
อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า จิตที่เป็นขณปัจจุบันย่อมเป็นอารมณ์ของเจโตปริยญาณ
ดังนี้. เพราะเหตุไร ? เพราะจิตของท่านผู้มีฤทธิ์ และของบุคคลอื่นเกิดขึ้น
ในขณะเดียวกัน.
ก็ความอุปมาของเกจิอาจารย์เหล่านั้น มีดังนี้
ในกำดอกไม้ที่บุคคลซัดอาทิผิด อักขระ ไป ในอากาศ ดอกหนึ่งย่อมสวม๒ ขั้วด้วยขั้ว
ของดอกไม้ดอกหนึ่งได้แน่นอนฉันใด เมื่อพระโยคาวจรพิจารณาจิตของมหาชน
ด้วยสามารถเป็นกองว่า เราจักรู้จิตของคนอื่น ดังนี้ ก็จะรู้จิตของบุคคลหนึ่งด้วย
จิตดวงหนึ่งในอุปปาทขณะ หรือฐีติขณะ หรือภังคขณะได้แน่ ฉันนั้น ก็
คำของพวกเกจิอาจารย์นั้นท่านปฏิเสธไว้ในอรรถกถาทั้งหลายว่า ไม่ถูกต้อง
๑. ม. อุ. เล่ม ๑๔.๕๖๐/๓๖๕ ๒. ฉบับไทยเป็น นปฺปฏิวิชฺฌติ ฉบับพม่าเป็น ปฏิวิชฺฌตี
นี้ก็ชื่อว่า รูปสันตติ วาระแห่งชวนะ ๒-๓ ชื่อว่า อรูปสันตติ (ความสืบต่อ
แห่งนาม) แล้วกล่าวว่า สันตติแม้ทั้งสองนี้ ชื่อว่า ปัจจุบัน.
ส่วนปัจจุบันที่กำหนดด้วยภพหนึ่ง ชื่อว่า อัทธาปัจจุบัน ในภัตเทก-
รัตตสูตร๑ ท่านพระมหากัจจายนเถระหมายเอาอัทธาปัจจุบันที่พระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าตรัสไว้ว่า โย จาวุโส มโน เย จ ธมฺมา สมฺปยุตฺตา อุภยํ
เมตํ ปจฺจุปฺปนฺนํ ตสฺมึ ปจฺจุปฺปนฺเน
ก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ถ้าบุคคลมีความรู้สึก๒ มีวิญญาณ) เนื่องด้วยฉันทรา-
คะในมโนและธรรมที่สัมปยุตกันทั้ง ๒ อย่าง ที่เป็นปัจจุบันนั้น เพราะความ
รู้สึกเนื่องด้วยฉันทราคะ บุคคลจึงเพลิดเพลินมโนและธรรมนั้น เมื่อเพลิด
เพลินจึงชื่อว่า ง่อนแง่นในธรรมที่เป็นปัจจุบัน ดังนี้.
ก็ในปัจจุบันที่เป็นสันตติและอัทธาเหล่านี้ สันตติปัจจุบันมาในอรรถ-
กถาทั้งหลาย. อัทธาปัจจุบันแล้วในพระสูตร ในขณปัจจุบันเป็นต้นนั้น เกจิ-
อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า จิตที่เป็นขณปัจจุบันย่อมเป็นอารมณ์ของเจโตปริยญาณ
ดังนี้. เพราะเหตุไร ? เพราะจิตของท่านผู้มีฤทธิ์ และของบุคคลอื่นเกิดขึ้น
ในขณะเดียวกัน.
ก็ความอุปมาของเกจิอาจารย์เหล่านั้น มีดังนี้
ในกำดอกไม้ที่บุคคล
ของดอกไม้ดอกหนึ่งได้แน่นอนฉันใด เมื่อพระโยคาวจรพิจารณาจิตของมหาชน
ด้วยสามารถเป็นกองว่า เราจักรู้จิตของคนอื่น ดังนี้ ก็จะรู้จิตของบุคคลหนึ่งด้วย
จิตดวงหนึ่งในอุปปาทขณะ หรือฐีติขณะ หรือภังคขณะได้แน่ ฉันนั้น ก็
คำของพวกเกจิอาจารย์นั้นท่านปฏิเสธไว้ในอรรถกถาทั้งหลายว่า ไม่ถูกต้อง
๑. ม. อุ. เล่ม ๑๔.๕๖๐/๓๖๕ ๒. ฉบับไทยเป็น นปฺปฏิวิชฺฌติ ฉบับพม่าเป็น ปฏิวิชฺฌตี
๗๖/๘๙๙/๕๗๙
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น