วันอาทิตย์, กรกฎาคม 23, 2566

Thasamasa

 
ปญฺจมาสปฏิจฺฉนฺนํ, อติเรกปญฺจมาสปฏิจฺฉนฺนํ ฉมาส, อติเรก-
ฉมาส, สตฺตมาส, อติเรกนวมาส, ทสมาส, อฏฺฐมาส, อติเรก-
อฏฺฐมาส. นวมาส, อติเรกนวมาส, ทสมาสอาทิผิด สระ, อติเรกทสมาส,
เอกาทสมาส, อติเรกเอกาทสมาสปฏิจฺฉนฺนํ.
เมื่อเต็มปี พึงแต่งคำสวดประกอบว่า เอกสํวจฺฉรปฏิจฺฉนฺนํ.
เบื้องหน้าแต่นั้น พึงแต่งคำสำหรับสวดประกอบอย่างนี้ว่า อติ-
เรกเอกสํวจฺฉร, ทฺวิสํวจฺฉร, อติเรกทฺวิสํวจฺฉร, ติสํวจฺฉร,
อติเรกติสํวจฺฉร, จตุสํวจฺฉร, อติเรกจตุสํวจฺฉร, ปญฺจสํวจฺฉร,
อติเรกปญฺจสํวจฺฉรปฏิจฺฉนฺนํ, ดังนี้ จนถึงว่า สฏฺฐิสํวจฺฉร,
อติเรกสฏฺฐิสํวจฺฉรปฏิจฺฉนฺนํ หรือแม้ยิ่งกว่านั้น.
และถ้าเป็นอาบัติ ๒ ตัว หรือยิ่งกว่านั้น พึงกล่าวว่า เทฺว
อาปตฺติโย, ติสฺโส อาปตฺติโย, เหมือนที่ได้กล่าวไว้ในที่นี้ว่า เอกํ
อาปตฺตึ ฉะนั้น. แต่ที่เกินกว่านั้น จะเป็นร้อยหนึ่ง หรือพันหนึ่งก็ตาม
สมควรกล่าวว่า สมฺพหุลา.
แม้ในอาบัติที่มีวัตถุต่าง ๆ กัน พึงแต่งคำสวดประกอบด้วยอำนาจ
แห่งจำนวนอย่างนี้ว่า:-
อหํ ภนฺเต สมฺพหุลา สงฺฆาทิเสสา อาปตฺติโย อาปชฺชึ
เอกํ สุกฺกวิสฏฺฐิ เอกํ กายสํสคฺคํ เอกํ ทุฏฺฐุลฺลํ วาจํ เอกํ
อตฺตกามปาริจริยํ เอกํ สญฺจริตํ เอกาหปฏิจฺฉนฺนาโย หรือด้วย
อำนาจแห่งการระบุวัตถุอย่างนี้ว่า :-
 
๘/๕๘๔/๔๗๙

ไม่มีความคิดเห็น: