วันอังคาร, พฤศจิกายน 28, 2566

Phakhawato

 
จริงอย่างนั้น เอวํ ศัพท์นี้ ที่มาในความเปรียบเทียบ เช่น ในประ-
โยคมีอาทิว่า เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุํ สัตว์เกิด
มาแล้วควรบำเพ็ญกุศลให้มาก ฉันนั้น.
ที่มาในความแนะนำ เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวํ เต อภิกฺกมิ-
ตพฺพํ เอวํ ปฏิกฺกมิตพฺพํ เธอพึงก้าวไปอย่างนี้ พึงถอยกลับอย่างนี้.
ที่มาในความยกย่อง เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวเมตํ ภควา
เอวเมตํ สุคต ข้อนั้นเป็นอย่างนี้พระผู้มีพระภาคเจ้า ข้อนั้นเป็นอย่างนี้
พระสุคต.
ที่มาในความติเตียน เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวเมวํ ปนายํ
วสลี ยสฺมึ วา ตสฺมิํ วา ตสฺส มุณฺฑกสฺส สมณกสฺส วณฺณํ ภาสติ
ก็หญิงถ่อยนี้ กล่าวสรรเสริญสมณะโล้นนั้น อย่างนี้อย่างนี้ ทุกหนทุกแห่ง.
ที่มาในความรับคำ เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวํ ภนฺเตติ โข
เต ภิกฺขู ภควโตอาทิผิด อักขระ ปจฺจสฺโสสุํ ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสของพระ
ผู้มีพระภาคเจ้าว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
ที่มาในอาการะ เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวํ พฺยาโข อหํ ภนฺเต
ภควตา ธมฺมํ เทสิตํ อาชานามิ ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าย่อมรู้ทั่ว
ถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้วอย่างนี้จริง.
ที่มาในความชี้แจง เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอหิ ตฺวํ มาณวก
เยน สมโณ อานนฺโท เตนุปสงฺกม อุปสงฺกมิตฺวา มม วจเนน สมณํ
อานนฺทํ อปฺปาพาธํ อปฺปาตงฺกํ ลหุฏฺฐานํ พลํ ผาสุวิหารํ ปุจฺฉ
สุโภ มาณโว โตเทยฺยปุตฺโต ภวนฺตํ อานนฺทํ อปฺปาพาธํ อปฺปาตงฺกํ
ลหุฏฺฐานํ พลํ ผาสุวิหารํ ปุจฺฉตีติ เอวญฺจ วเทหิ สาธุ กิร ภวํ
 
๑๑/๙๐/๑๑๑

ไม่มีความคิดเห็น: